งบประมาณที่ทางทหารไทย ใช้ไปในการซื้ออาวุธ ยุทโธปกรณ์ต่างๆ เพื่อสร้าง “แสนยานุภาพ” ให้ประเทศเพื่อนบ้านต้อง “เกรงใจ” กันนั้น
เปรียบเสมือนกับ Tip of the Iceberg หรือส่วนที่เห็นอยู่เหนือน้ ำ
ไม่ว่า จะจ่ายเงินซื้อเครื่องบินไป ในราคาเท่าไร รถถังราคาเท่าไร หรือแม้แต่เรือดำน้ำ ราคาเท่าไรก็ตาม
เงินที่เสียไปในการซื้ออุปก รณ์เหล่านั้น ก็เปรียบเสมื่อนกับ Iceberg ที่ลอยอยู่เหนือพื่นน้ำทั้ง สิ้น
อย่างเครื่องบินที่เพิ่งตกไ ป ก็ไม่ใช่ลำละ 2 พันกว่าล้านบาท เพราะนั่นเป็นเพียงค่า Hardware ที่ซื้อมา เพราะเราไม่ได้คิดเรื่องของ ส่วน Iceberg ที่ยัง "จมน้ำ" หรือ "อยู่ใต้น้ำ" กัน
------------
เราลองมาคิดกันดูง่ายๆ เกี่ยวกับส่วนที่ "อยู่ใต้น้ำ" กัน เพราะมันจะสะสมไปด้วยค่าใช้ จ่ายต่างๆ อย่างเช่น:
• ค่าใช้จ่ายก่อนและหลังการทำ สัญญาซื้ออาวุธ
• ค่าใช้จ่ายในการซื้อสถานที่ หรือ ที่ดิน เพื่อทำการก่อสร้างสถานที่เ ก็บสรรพาวุธ รถถัง เรือดำน้ำ และแม้แต่เครื่องบิน
• ค่าใช้จ่ายในการสร้างโกดัง โรงเก็บอาวุธ สรรพาวุธ รวมไปถึง ท่าเรือ ท่าเทียบเรือ พร้อมกับวัสดุการก่อสร้างทั ้งหมด ไม่ว่า จะเป็นปูน ยาง ซีเมนต์ เหล็ก ลวด ฯลฯ พร้อมกับ การรักษาความปลอดภัยในสถานท ี่เก็บอาวุธ ยุทโธปกรณ์เหล่านั้น
• วัสดุเสริม อะไหล่ หรือ แม้แต่ Parts เสริม (Accessories)
• ค่าใช้จ่าย ค่าฝึกซ้อม และ การซ้อมรบ
• อาวุธยุทโธปกรณ์ที่ใช้ในการ ฝึกฝน เช่น ลูกกระสุน จรวด ขีปนาวุธ ฯลฯ
• เงินเดือน Overtime สวัสดิการที่ต้องเสียให้กับ ผู้ทำงานเกี่ยวกับอาวุธยุทโ ธปกรณ์ ทั้งโดยทางตรง และทางอ้อม
• ค่ารักษาพยาบาล เมื่อเกิดการบาดเจ็บ หรือ เสียชีวิตในหน้าที่ รวมไปถึงพิธีกรรม กับบุคลากรซึ่งมีความเกี่ยว ข้องกับอาวุธยุทโธปกรณ์เหล่ านั้น
• ค่าใช้จ่ายในการฝึกฝน อบรมหลักสูตร รวมทั้งเขียนคู่มือต่างๆ เป็นภาษาไทย
• ค่าใช้จ่ายการ Update Software และ Update Hardware รวมทั้งการ Upgrade Equipment ต่างๆ
• ค่าซ่อมแซม สึกหรอ ค่าบำรุงรักษา
• ค่าทำความสะอาด น้ำยา น้ำล้าง ขัดสีให้ดูดี ผ้าทำความสะอาด รวมไปถึงอุปกรณ์ประเภท Washer, Dryer เครื่องดูดฝุ่น สายยางฉีด ฯลฯ
• ค่าเก็บขยะ สิ่งปฎิกูล ที่เกี่ยวข้องจากอาวุธแต่ละ ชิ้น รวมทั้งค่าทำลายทิ้ง เมื่อหมดอายุการใช้งาน
• ค่าจัดการบริหารบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับ เครื่องบิน, เรือรบ, รถถัง, รถหุ้มเกราะ ฯลฯ
• ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าขนส่ง
• ค่าประกันภัย
• ค่าบริการอื่นๆ ในสถานที่เก็บรักษา เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ รวมทั้งงานธุรการและงานบริก าร ฯลฯ
• ค่าเดินทางขนส่งไปงานทางการ ต่างๆ หรือไปแสดงนิทรรศการ ฯลฯ
• ค่าใช้จ่ายจิปาถะ ฯลฯ
------------
เหมือนกับการซื้อรถใหม่ สิ่งทีเราทราบคือ รถราคาเท่าไร แต่หลังจากนั้นอีก 5-6 ปี เราก็มีค่าใช้จ่ายมากมาย กับตัวรถ เช่น ค่าประกันภัย, น้ำมันเชื้อเพลิง, ค่าซ่อมแซม บำรุงรักษา และค่ารักษาประจำปี ที่ทางผู้ผลิตแจ้งให้ทราบเป ็นระยะๆ
ค่าใช้จ่ายที่เปรียบเสมือนอ ยู่ใต้ Iceberg นี้ เป็นค่าใช้จ่ายที่ต้องทำในแ ต่ละปี เพราะถ้าไม่ดำเนินการแล้ว ของที่ซื้อมา ก็ใช้ไม่ได้ กลายเป็นสนิม และในที่สุดก็ต้องโยนทิ้งไป โดยเปล่าประโยชน์
------------
ค่าใช้จ่ายทั้งหมด ในก้อน "Iceberg" แบบนี้ ทางตะวันตกเรียกว่า "Total Cost of Ownership" หรือ ค่าใช้จ่ายทุกอย่างตั้งแต่ ซื้อมา ใช้ไป จนกระทั่งวัตถุเหล่านั้น กลายเป็นเศษเหล็ก หรือ ใช้ไม่ได้อีกต่อไปแล้ว
จะคิดทั้งส่วนที่ "อยู่พ้นน้ำ" และ "อยู่ใต้น้ำ" รวมกัน
แต่เราจะเห็นแต่ตัวเลขของ "ราคาซื้อ" เท่านั้นเอง ซึ่งเปรียบเสมื่อนส่วนที่เห ็นอยู่เหนือน้ำ
------------
ถ้าเครื่องบินราคา 2 พันล้านบาท ท่านก็ยังไม่รวมค่าใช้จ่ายท ี่จะต้องมี หลังจากได้รับมอบ "สินค้า" ตัวนั้นแล้ว
ราคา Total Cost of Ownership จะต้องระบุว่า ต้องการใช้งานกี่ปี 10, 15, 20 หรืออะไรก็ว่าไป ต้องมีกระสุนปืนเท่าไร ฝึกซ้อมปีละกี่ครั้ง น้ำมันในการฝึกซ้อมแต่ละครั ้ง กี่ลิตร ก็ว่าไป รวมทั้ง ค่าประกันความเสียหาย ค่าซ่อมแซมส่วนสึกหรอ (Wear and Tear) ฯลฯ
การจัดซื้อ Procurement ของประเทศทางตะวันตก จะละเอียดมากๆ และมีรายงานเป็นหน้าๆ เพื่อหลักการ Justification หรือสมเหตุสมผลว่า ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อปี ตกเท่าไรต่อหนึ่งลำ หรือ หนึ่งคัน
------------
ในเรื่องศึกสงครามของประเทศ ในเขตอาเซียนปัจจุบัน ท่านก็ต้องลองวิเคราะห์ดูว่ า สงครามที่ใช้ยุทธวิธี “เดินดิน” ใช้รถหุ้มเกราะ ใช้เรือดำน้ำในพื้นที่ มันมีโอกาสมากน้อยแค่ไหน เมื่อเทียบกับสถานที่และพื้ นที่ของประเทศไทย
------------
กองทัพไทย พยายามจัดงบประมาณซื้ออาวุธ หนักกันอย่างบ่อยครั้ง เมื่อของเก่าซื้อมา และไม่ได้ใช้งานบ่อย (การฝึกซ้อมแต่ละครั้ง ต้องใช้งบประมาณรายจ่ายสูงม ากๆ เพราะลูกปืน จรวดขีปนาวุธต่างๆ ไม่ได้มีราคา “ถูก” แต่อย่างใด)
และถ้าหมดสัญญาการ Maintenance ทุกอย่างก็จะต้องจ่ายเป็นตั วเงินแทบทั้งสิ้น
อย่างเรือดำน้ำลำละ 12,000 ล้านบาท ก็จะต้องมีการคำนวณค่าใช้จ่ ายที่ติดตามมาในแต่ละปี การซ้อมรบ ลูกตอร์ปิโด ลูกละเท่าไรที่จะต้องใช้ น้ำมันเชื้้อเพลิง อุปกรณ์ บุคลากร ฯลฯ ถ้า "ขี้เหนียว" เรื่องแบบนี้ ก็อาจจะเกิด อุบัติเหตุได้ง่ายๆ เนื่องจาก "ฝึกฝนมาไม่่เพียงพอ" เพราะ การฝึกแต่ละครั้ง เสียงบประมาณนับล้านบาท เป็นต้น
------------
นอกจาก “งบผูกพัน” ที่จะต้องใช้ในการ “ผ่อนส่ง” การซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์ในแต ่ละปีแล้ว งบประมาณของการดูแลที่กล่าว ไว้ (ใต้น้ำแข็ง) มันจะเพิ่มขึ้นทุกปี เพราะถ้าเอาแต่ซื้อแต่ของให ม่ๆ เราจะเห็นขนาดของ “น้ำแข็งใต้น้ำ” ค่อยๆ เพิ่มขึ้นอยู๋เรื่อยๆ
ถ้าจะเอาแต่ Commission อย่างเดียว มันก็เหมือนกับซื้อมา “ทิ้ง” และปล่อยให้มันเป็น “สนิม” กันทั้งหมด...
------------
ไม่เป็นเรื่องดีต่อ งบประมาณของประเทศชาติ รวมทั้งเสียโอกาสในการพัฒนา บ้านเมืองในส่วนอื่นๆ อีกเช่นกัน
พูดง่ายๆ คือ ยิ่งซื้อ อาวุธ และ Hardware เข้ามากันมากเท่าไร ค่าใช้จ่ายส่วน "ที่จมน้ำ" ของ Iceberg ก็ยิ่งขยายตัวเพิ่มมากขึ้นเ ท่านั้น
และเป็นค่าใช้จ่ายที่ประชาช นธรรมดา ไม่สามารถมองเห็นกันได้ เพราะมันเป็นส่วน "ภายใน" กองทัพ และอาจจะเข้าไปอยู่เป็น "ส่วนหนึ่ง" ของงบประมาณประจำปีได้
------------
Total Cost of Ownership จะคุ้มค่าแค่ไหน กับเงินภาษีประชาชนที่เสียไ ป หากนำเอาเงินส่วนดังกล่าวไป พัฒนา เพื่อบุคลากรและมันสมองของป ระเทศกัน ในระยะเวลาพอๆ กับตัว Total Cost of Ownership ในการซื้ออาวุธ บวกกับค่าใช้จ่ายหลังจากนั้ น...
Iceberg ที่อยู่เหนือน้ำ แต่ยังมีส่วนที่อยู่ใต้น้ำอ ีกพอสมควร (จะเป็นอัตราเท่าไร ก็ต้องดูที่ Total Cost of Ownership กัน เพราะจะต้องทราบด้วยว่า มันผูกพันกับสิ่งที่อยู่เหน ือพื้นน้ำด้วย เพราะเราต้องเห็น ภาพใหญ่ หรือ Big Picture ทั้งหมดว่า ราคาสิ่งของที่จะซื้อมาแต่ล ะอย่างนั้น จะต้องนำเอาภาษีของประชาชนไ ปจุนเจือปีละเท่าไร...
เปรียบเสมือนกับ Tip of the Iceberg หรือส่วนที่เห็นอยู่เหนือน้
ไม่ว่า จะจ่ายเงินซื้อเครื่องบินไป
เงินที่เสียไปในการซื้ออุปก
อย่างเครื่องบินที่เพิ่งตกไ
------------
เราลองมาคิดกันดูง่ายๆ เกี่ยวกับส่วนที่ "อยู่ใต้น้ำ" กัน เพราะมันจะสะสมไปด้วยค่าใช้
• ค่าใช้จ่ายก่อนและหลังการทำ
• ค่าใช้จ่ายในการซื้อสถานที่
• ค่าใช้จ่ายในการสร้างโกดัง โรงเก็บอาวุธ สรรพาวุธ รวมไปถึง ท่าเรือ ท่าเทียบเรือ พร้อมกับวัสดุการก่อสร้างทั
• วัสดุเสริม อะไหล่ หรือ แม้แต่ Parts เสริม (Accessories)
• ค่าใช้จ่าย ค่าฝึกซ้อม และ การซ้อมรบ
• อาวุธยุทโธปกรณ์ที่ใช้ในการ
• เงินเดือน Overtime สวัสดิการที่ต้องเสียให้กับ
• ค่ารักษาพยาบาล เมื่อเกิดการบาดเจ็บ หรือ เสียชีวิตในหน้าที่ รวมไปถึงพิธีกรรม กับบุคลากรซึ่งมีความเกี่ยว
• ค่าใช้จ่ายในการฝึกฝน อบรมหลักสูตร รวมทั้งเขียนคู่มือต่างๆ เป็นภาษาไทย
• ค่าใช้จ่ายการ Update Software และ Update Hardware รวมทั้งการ Upgrade Equipment ต่างๆ
• ค่าซ่อมแซม สึกหรอ ค่าบำรุงรักษา
• ค่าทำความสะอาด น้ำยา น้ำล้าง ขัดสีให้ดูดี ผ้าทำความสะอาด รวมไปถึงอุปกรณ์ประเภท Washer, Dryer เครื่องดูดฝุ่น สายยางฉีด ฯลฯ
• ค่าเก็บขยะ สิ่งปฎิกูล ที่เกี่ยวข้องจากอาวุธแต่ละ
• ค่าจัดการบริหารบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับ เครื่องบิน, เรือรบ, รถถัง, รถหุ้มเกราะ ฯลฯ
• ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าขนส่ง
• ค่าประกันภัย
• ค่าบริการอื่นๆ ในสถานที่เก็บรักษา เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ รวมทั้งงานธุรการและงานบริก
• ค่าเดินทางขนส่งไปงานทางการ
• ค่าใช้จ่ายจิปาถะ ฯลฯ
------------
เหมือนกับการซื้อรถใหม่ สิ่งทีเราทราบคือ รถราคาเท่าไร แต่หลังจากนั้นอีก 5-6 ปี เราก็มีค่าใช้จ่ายมากมาย กับตัวรถ เช่น ค่าประกันภัย, น้ำมันเชื้อเพลิง, ค่าซ่อมแซม บำรุงรักษา และค่ารักษาประจำปี ที่ทางผู้ผลิตแจ้งให้ทราบเป
ค่าใช้จ่ายที่เปรียบเสมือนอ
------------
ค่าใช้จ่ายทั้งหมด ในก้อน "Iceberg" แบบนี้ ทางตะวันตกเรียกว่า "Total Cost of Ownership" หรือ ค่าใช้จ่ายทุกอย่างตั้งแต่ ซื้อมา ใช้ไป จนกระทั่งวัตถุเหล่านั้น กลายเป็นเศษเหล็ก หรือ ใช้ไม่ได้อีกต่อไปแล้ว
จะคิดทั้งส่วนที่ "อยู่พ้นน้ำ" และ "อยู่ใต้น้ำ" รวมกัน
แต่เราจะเห็นแต่ตัวเลขของ "ราคาซื้อ" เท่านั้นเอง ซึ่งเปรียบเสมื่อนส่วนที่เห
------------
ถ้าเครื่องบินราคา 2 พันล้านบาท ท่านก็ยังไม่รวมค่าใช้จ่ายท
ราคา Total Cost of Ownership จะต้องระบุว่า ต้องการใช้งานกี่ปี 10, 15, 20 หรืออะไรก็ว่าไป ต้องมีกระสุนปืนเท่าไร ฝึกซ้อมปีละกี่ครั้ง น้ำมันในการฝึกซ้อมแต่ละครั
การจัดซื้อ Procurement ของประเทศทางตะวันตก จะละเอียดมากๆ และมีรายงานเป็นหน้าๆ เพื่อหลักการ Justification หรือสมเหตุสมผลว่า ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อปี ตกเท่าไรต่อหนึ่งลำ หรือ หนึ่งคัน
------------
ในเรื่องศึกสงครามของประเทศ
------------
กองทัพไทย พยายามจัดงบประมาณซื้ออาวุธ
และถ้าหมดสัญญาการ Maintenance ทุกอย่างก็จะต้องจ่ายเป็นตั
อย่างเรือดำน้ำลำละ 12,000 ล้านบาท ก็จะต้องมีการคำนวณค่าใช้จ่
------------
นอกจาก “งบผูกพัน” ที่จะต้องใช้ในการ “ผ่อนส่ง” การซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์ในแต
ถ้าจะเอาแต่ Commission อย่างเดียว มันก็เหมือนกับซื้อมา “ทิ้ง” และปล่อยให้มันเป็น “สนิม” กันทั้งหมด...
------------
ไม่เป็นเรื่องดีต่อ งบประมาณของประเทศชาติ รวมทั้งเสียโอกาสในการพัฒนา
พูดง่ายๆ คือ ยิ่งซื้อ อาวุธ และ Hardware เข้ามากันมากเท่าไร ค่าใช้จ่ายส่วน "ที่จมน้ำ" ของ Iceberg ก็ยิ่งขยายตัวเพิ่มมากขึ้นเ
และเป็นค่าใช้จ่ายที่ประชาช
------------
Total Cost of Ownership จะคุ้มค่าแค่ไหน กับเงินภาษีประชาชนที่เสียไ
Iceberg ที่อยู่เหนือน้ำ แต่ยังมีส่วนที่อยู่ใต้น้ำอ
เรื่องเหล่านี้เป็นสิ่งที่ประชาชนผู้เสียภาษีควรจะนำไปขบคิดกันด้วย
Doungchampa Spencer-Isenberg
-----
คอมเม้นท์เสริมของดิฉัน หลังจากบทความได้ถูกโพสต์ลงไปแล้ว:
1) ถ้าเราจะคิดตัวอย่างง่ายๆ ท่านจะซื้อเรือ หรือ ซื้อรถ ท่านก็จะต้องสร้างโรงเก็บของ หรือ โรงรถ ที่จอดรถ เพื่อป้องกันรักษาสิ่งที่ท่านซื้อมา
แต่ในทางการทหาร ท่านจะซื้อรถถังมาเป็นสิบๆ คัน หรือ ทหารเรือจะเอาเรือดำน้ำ หรือ ทหารอากาศจะเอาเครื่องบิน
สิ่งที่ตามมาคือ พื้นที่ในการเก็บของ ถ้าไม่มีพื้นที่ ก็จะต้องไปเวนคืน หรือ ซื้อทีดิน ซึ่งติดๆ กับกองทัพ จากนั้น ก็ต้องเริ่มดำเนินการก่อสร้าง เพื่อเก็บของเหล่านี้กัน
เรือก็ต้องมี อู่จอด รถถังก็ต้องมีโรงเก็บ เครื่องบินก็ต้องมีโกดังเก็บเหมือนกัน
ก็ต้องมีการสร้างลู่ สร้างลานบิน สร้างถนนเพื่อให้ของเหล่านี้ มาปฎิบัติการได้
จากนั้น ก็ต้อง ล้อมรั้ว หรือ ไม่ก็สร้างกำแพง เพราะเป็นเขตหวงห้าม
นี่คื่อ ตัวอย่างผลพวงของการซื้อของ เพราะไม่ใช่ว่า จะได้เครื่องบินมาอย่างเดียว แต่จะต้องมีสถานที่เก็บซ่อม บำรุงรักษา และบุคลากรก็จะต้องเพิ่มขึ้น เพราะไม่อย่างนั้น ก็จะไม่สามารถดูแลอาวุธยุทโธปกรณ์ได้อย่างเต็มที่
------
เมื่อรถท่านเกิดเสียขึ้นมากลางทาง ท่านก็เรียก ผู้บริการหลายเจ้ากัน มาลากรถท่านเข้าอู่
ถ้าเป็นทางการทหาร มันก็ต้องมีค่าใช้จ่ายแบบนี้เช่นกัน ปืนใหญ่ ปืนครก ล้อหลุดขึ้นมา ก็ต้องมีพวกฉุกเฉินเหล่านี้ เข้ามาประจำการ
แถมอาจจะต้องซื้อเครื่องไม้เครื่องมือกันใหม่ เพื่อรองรับอาวุธใหญ่ๆ ที่เพิ่งซื้อกันมา
เพราะไม่อย่างนั้น เจ้านายผู้ทำการซื้อของ คงจะ "หน้าแตก" กันเป็นแถวๆ ว่า ซื้อมาแล้ว ซ่อมกันไม่เป็น...
------
การซื้ออาวุธ ยุทโธปกรณ์ ต้องคิดเหมือนกับ การซื้อรถยนต์ ซื้อบ้านว่า เราจ่ายเงินไปแล้วเพียงแค่รถ หรือ บ้านเท่านั้นหรือ?
ไม่ใช่เลย เพราะค่าใช้จ่ายที่ตามมาแต่ละปี มันมีเต็มไปหมด
แม้กระทั่ง ตอนที่ต้อง "ขน" ไป "ทำลาย" ให้หมด เมื่อหมดสภาพ หรือ หมดอายุงาน
ใครจะไป "ลาก" ให้ฟรีๆ ล่ะคะ? การทำลาย อาจจะต้องคิดถึง ระบบนิเวศน์ด้วยว่า เป็นอย่างไร จะทำลายสิ่งแวดล้อมหรือไม่
ก็ต้องมีค่าใช้จ่าย ในการทำวิจัยต่างๆ ตามมาอีก
ก็ให้เห็นภาพเลย ตั้งแต่ "เกิด" จน "ตาย" ว่า มันมีแต่ "ค่าใช้จ่าย" ทั้งนั้น ถ้าไม่มีการ "รบ" หรือ "ต่อสู้กับอริราชศัตรู" เกิดขึ้น
------
ตรรกะง่ายๆ ก็คือ ถ้า ไม่ "ซื้อ" ก็ไม่ต้องมี "เรื่องต่างๆ" แบบนี้ ตามมาแน่นอน...
เหมือนกับที่พระท่านกล่าวไว้ ที่เราได้ยินกันเสมอๆ ว่า "ถ้าไม่เกิด ก็ไม่มีทุกข์"
ถ้าไม่มีบ้าน หรือ ไม่มีรถ ค่าใช้จ่ายต่างๆ เหล่านี้ ก็ไม่มีใช่ไหม?
ฉันใด ก็ ฉันนั้นค่ะ
เราต้องคิดแบบนี้ เพราะไม่อย่างนั้น เราจะคิดแต่ ราคาอาวุธูใหม่ๆ เท่านั้น เราไม่ได้คิดถึงเรื่อง "หลังจากนั้น" กันเลย
และเรื่อง "หลังจากการซื้อ" นี่แหละ ที่ "ดูด" ภาษีประชาชนกันไปอีกนับล้านๆ บาทต่อปี...
Doungchampa Spencer-Isenberg
-----
คอมเม้นท์เสริมของดิฉัน หลังจากบทความได้ถูกโพสต์ลงไปแล้ว:
1) ถ้าเราจะคิดตัวอย่างง่ายๆ ท่านจะซื้อเรือ หรือ ซื้อรถ ท่านก็จะต้องสร้างโรงเก็บของ หรือ โรงรถ ที่จอดรถ เพื่อป้องกันรักษาสิ่งที่ท่านซื้อมา
แต่ในทางการทหาร ท่านจะซื้อรถถังมาเป็นสิบๆ คัน หรือ ทหารเรือจะเอาเรือดำน้ำ หรือ ทหารอากาศจะเอาเครื่องบิน
สิ่งที่ตามมาคือ พื้นที่ในการเก็บของ ถ้าไม่มีพื้นที่ ก็จะต้องไปเวนคืน หรือ ซื้อทีดิน ซึ่งติดๆ กับกองทัพ จากนั้น ก็ต้องเริ่มดำเนินการก่อสร้าง เพื่อเก็บของเหล่านี้กัน
เรือก็ต้องมี อู่จอด รถถังก็ต้องมีโรงเก็บ เครื่องบินก็ต้องมีโกดังเก็บเหมือนกัน
ก็ต้องมีการสร้างลู่ สร้างลานบิน สร้างถนนเพื่อให้ของเหล่านี้ มาปฎิบัติการได้
จากนั้น ก็ต้อง ล้อมรั้ว หรือ ไม่ก็สร้างกำแพง เพราะเป็นเขตหวงห้าม
นี่คื่อ ตัวอย่างผลพวงของการซื้อของ เพราะไม่ใช่ว่า จะได้เครื่องบินมาอย่างเดียว แต่จะต้องมีสถานที่เก็บซ่อม บำรุงรักษา และบุคลากรก็จะต้องเพิ่มขึ้น เพราะไม่อย่างนั้น ก็จะไม่สามารถดูแลอาวุธยุทโธปกรณ์ได้อย่างเต็มที่
------
เมื่อรถท่านเกิดเสียขึ้นมากลางทาง ท่านก็เรียก ผู้บริการหลายเจ้ากัน มาลากรถท่านเข้าอู่
ถ้าเป็นทางการทหาร มันก็ต้องมีค่าใช้จ่ายแบบนี้เช่นกัน ปืนใหญ่ ปืนครก ล้อหลุดขึ้นมา ก็ต้องมีพวกฉุกเฉินเหล่านี้ เข้ามาประจำการ
แถมอาจจะต้องซื้อเครื่องไม้เครื่องมือกันใหม่ เพื่อรองรับอาวุธใหญ่ๆ ที่เพิ่งซื้อกันมา
เพราะไม่อย่างนั้น เจ้านายผู้ทำการซื้อของ คงจะ "หน้าแตก" กันเป็นแถวๆ ว่า ซื้อมาแล้ว ซ่อมกันไม่เป็น...
------
การซื้ออาวุธ ยุทโธปกรณ์ ต้องคิดเหมือนกับ การซื้อรถยนต์ ซื้อบ้านว่า เราจ่ายเงินไปแล้วเพียงแค่รถ หรือ บ้านเท่านั้นหรือ?
ไม่ใช่เลย เพราะค่าใช้จ่ายที่ตามมาแต่ละปี มันมีเต็มไปหมด
แม้กระทั่ง ตอนที่ต้อง "ขน" ไป "ทำลาย" ให้หมด เมื่อหมดสภาพ หรือ หมดอายุงาน
ใครจะไป "ลาก" ให้ฟรีๆ ล่ะคะ? การทำลาย อาจจะต้องคิดถึง ระบบนิเวศน์ด้วยว่า เป็นอย่างไร จะทำลายสิ่งแวดล้อมหรือไม่
ก็ต้องมีค่าใช้จ่าย ในการทำวิจัยต่างๆ ตามมาอีก
ก็ให้เห็นภาพเลย ตั้งแต่ "เกิด" จน "ตาย" ว่า มันมีแต่ "ค่าใช้จ่าย" ทั้งนั้น ถ้าไม่มีการ "รบ" หรือ "ต่อสู้กับอริราชศัตรู" เกิดขึ้น
------
ตรรกะง่ายๆ ก็คือ ถ้า ไม่ "ซื้อ" ก็ไม่ต้องมี "เรื่องต่างๆ" แบบนี้ ตามมาแน่นอน...
เหมือนกับที่พระท่านกล่าวไว้ ที่เราได้ยินกันเสมอๆ ว่า "ถ้าไม่เกิด ก็ไม่มีทุกข์"
ถ้าไม่มีบ้าน หรือ ไม่มีรถ ค่าใช้จ่ายต่างๆ เหล่านี้ ก็ไม่มีใช่ไหม?
ฉันใด ก็ ฉันนั้นค่ะ
เราต้องคิดแบบนี้ เพราะไม่อย่างนั้น เราจะคิดแต่ ราคาอาวุธูใหม่ๆ เท่านั้น เราไม่ได้คิดถึงเรื่อง "หลังจากนั้น" กันเลย
และเรื่อง "หลังจากการซื้อ" นี่แหละ ที่ "ดูด" ภาษีประชาชนกันไปอีกนับล้านๆ บาทต่อปี...
------
2) อย่างคนเราจะซื้อบ้าน หลังละ 5 ล้านบาท มันไม่ใช่ซื้อแค่ 5 ล้านแล้วจบ ถึงแม้จะซื้อเงินสดก็ตาม
ถ้าจะอยู่จนบ้านพังไป (30 ปี) ก็ควรจะทราบว่า ค่าใช้จ่ายที่จะต้องจ่ายทุกๆ ปี มีอะไรบ้าง ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าประกัน ค่าซ่อมแซมรักษา และเรื่องต่างๆ อีกจิปาถะ
มันไม่ใช่ ซื้อบ้านแล้วก็จบเมื่อไร
-------------
ยิ่งถ้าเป็นอาวุธแล้ว มันก็ต้องมีการฝึกซ้อม กระสุนปลอม กระสุนจริง ก็ต้องสั่งซื้อมา เพราะมันผูกพันกับ ของที่ซื้อ รวมทั้ง พวกที่ต้องอยู่ประจำการ ซ่อมแซม ดูแลวัสดุต่างๆ
ดิฉันไม่เคยเห็นทางทหารทำเรื่องของ Total Cost of Ownership ให้ประชาชนดูกันเลยว่า ไอ้ที่ซื้อๆ มานั้น กะว่าจะใช้งานกันกี่ปี และ แต่ละปี มีค่าใช้จ่ายอย่างไรบ้าง
เรามีแต่ตัวเลข "การซื้อ" ว่า ของนี้ ราคาเท่าไร
พวกนี้ พูดไปเหมือนซื้อรถยนต์กัน ราคากี่ล้านก็ว่าไป แต่ไม่สามารถบอกตัวเลขในการซ่อมแซม บำรุงรักษาในระยะเวลาอีก 5-10 ปีได้เลยว่า จะต้องใช้ภาษีอีกกี่ล้านบาท
------------
ถ้าจำเรื่องเรือเหาะนรกได้ (มังกรเหิรฟ้า)
ซื้อมากี่ล้าน แต่เวลาสูบลม เติมแก้ส ทีนึง ล่อเข้าไปอีกกี่ล้านบาท แถมมันก็ซึมรั่วออกมา บวกกับตกในท้องที่เสียด้วย
เรื่องเหล่านี้ไม่ใช่ของฟรี มีแต่เสียเงินทั้งนั้น และมันไปผูกพันกับเรือเหาะด้วยใช่ไหมคะ?
ตัวเลขของ Total Cost of Ownership ไม่เคยมีใครกล้านำมาโชว์ โดยเฉพาะเรื่องระยะเวลาการใช้ว่า กี่ปี ซ่อมแซม บำรุงรักษา ไปซ้อมรบ อย่างไรบ้าง
ถ้าเป็นทาง Pentagon เรื่องแบบนี้ เขาทำละเอียดเลยค่ะ เพราะอาวุธทุกอย่าง จะต้องบอกเลยว่า ปลดประจำการกันกี่ปี เพื่อให้มีอาวุธหมุนเวียนกันได้ตลอด
ไม่ใช่ สักแต่ว่า เอาแต่คอมมิชชั่นอย่างเดียว ซื้อแล้ว ก็หมด นายพลรุ่นต่อไป ก็จะซื้อบ้าง ไปๆ มาๆ เราก็จะมีอาวุธที่ใช้งานไม่ได้เยอะขึ้นตามลำดับจริงๆ
3) ทางการออกข่าวของไทย สนใจแต่เรื่อง ราคาของอาวุธชุดใหม่เท่านั้น อย่างรถถัง เรารู้ว่า คันละกี่ล้านบาท แต่ไม่เคยมีใครทำ Total cost of ownership เลยว่า จะต้องใช้เวลากี่ปี อายุการทำงานเท่าไร ถึงจะซื้อใหม่ได้
เราจึงเห็นการซื้ออาวุธเหล่านี้เป็นว่าเล่นกัน
และแถมยังไม่มีใครคิดเกี่ยวกับ ค่าใช้จ่ายภายหลังด้วย ว่า มันมีอยู่เท่าไรนะคะ
ซื้ออาวุธใหม่มา มันก็ต้องมีบุคลากรเกี่ยวข้อง บุคลากรก็ไม่ได้มาทำฟรีๆ ต้องจ่ายเงินเดือน สวัสดิการให้
เราไม่ได้ทำ Total Cost of Ownership ให้เห็นกันนี่คะ เคยชินกับระบบว่า อยากจะซื้อก็ซื้อ
เราถึงเห็น รถถังสนิมกิน แบดเสื่อม
เราก็เห็นทหารออกมาพูดกันว่า งบซ้อมรบมีน้อย กระสุน จรวด ลูกละเป็นแสนๆ
นี่คือ สิ่งที่ตามมาหลังจากการซื้ออา่วุธค่ะ
ลองดูเรื่องเรือดำน้ำก็แล้วกัน ซื้อมาแล้วไม่มีการซ้อมยิงตอร์ปิโดหรือ? ตอร์ปิโดซ้อมลูกละเท่าไรล่ะคะ?
ยังมีน้ำมันเชื้อเพลิง การทดสอบสมรรถภาพ ค่าประกัน อื่นๆ อีกเยอะเลยใช่หรือไม่?
ไม่มีใครขายของฟรีหรอกค่ะ ขนาดรถยนต์ เรายังต้องจ่ายค่า tune up หรือ เปลี่ยนน้ำมันเครื่องกันเลยใช่หรือเปล่า?