@LittleBirbMame
สรุปข่าว เงินดิจิม่อนออมเล็ตวันนี้ค่ะ
.....
สำหรับแหล่งเงินที่จะนำมาใช้ในโครงการเงินดิจิทัล 10,000 บาท แหล่งข่าวอธิบายเพิ่มเติมว่า ตามที่วางแผนไว้เพื่อให้สามารถดำเนินโครงการได้ ในช่วงที่งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2567 ยังไม่บังคับใช้ก็คือ ต้องใช้มาตรการกึ่งการคลัง โดยยืมเงินรัฐวิสาหกิจ ซึ่งคาดว่าน่าจะเป็นเงินจากธนาคารของรัฐมาใช้ไปก่อน โดยรัฐบาลจะตั้งงบฯชดเชยคืนให้ในภายหลัง ซึ่งจะมีกรอบวงเงินที่ใช้ได้ ตามมาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 ที่กำหนดว่า ยอดคงค้าง หรือภาระที่รัฐต้องรับชดเชยค่าใช้จ่าย หรือการสูญเสียรายได้ในการดำเนินกิจกรรม มาตรการ หรือโครงการ ต้องไม่เกิน 32% ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี
ทั้งนี้ มาตรา 28 แห่ง พ.ร.บ.วินัยการเงินการคลังฯ กำหนดว่า การจะใช้เงินตามแนวทางดังกล่าว ต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ อาทิ 1) ฟื้นฟูหรือกระตุ้นเศรษฐกิจ 2) เพิ่มขีดความสามารถในการประกอบอาชีพหรือยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน หรือ 3) ช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบจากสาธารณภัย หรือการก่อวินาศกรรม
“ตอนนี้วงเงินตามมาตรา 28 ถ้าเป็นตามกรอบของปีงบประมาณ 2566 ก็จะเหลือแค่ประมาณ 18,000 ล้านบาท ซึ่งไม่พอแน่นอน แนวทางที่ทำได้ก็คือ ต้องขยายกรอบวงเงินตรงนี้ จากปัจจุบันกำหนดไว้ที่ไม่เกิน 32% ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี ก็ขึ้นอยู่กับว่ารัฐบาลต้องการวงเงินเท่าไหร่ จะขยายเป็นกี่เปอร์เซ็นต์” แหล่งข่าวกล่าว
ที่มา ประขาชาติธุรกิจ
สรุปข่าว เงินดิจิม่อนออมเล็ตวันนี้ค่ะ
.....
ประเดิมงานแรกของนายกในฐานะปธ.คกก.นโยบายการเงินการคลังของรัฐ ด้วยการทลายกรอบวินัยการเงินการคลัง
— Sirikanya Tansakun (@SirikanyaTansa1) September 6, 2023
โครงการที่กู้ยืมเงินรัฐวิสาหกิจยังมีปัญหาอีกอย่างคือ ไม่อยู่ในงบประมาณ = ไม่ต้องผ่านสภา ไม่ต้องโดนสภาตรวจสอบตอนอนุมัติงบ
พอรู้แล้วถึงกับร้องอ๋ออออ!! มันเป็นอย่างงี้นี่เอง#ก้าวไกล#ดิจิทัลวอลเล็ต #รัฐบาลเศรษฐา#เพื่อไทย #เพื่อการโฆษณาเท่านั้น pic.twitter.com/WJdrFF37Rr
— ✴ คุณอุ๋ง (@oonginlavender) September 6, 2023
สำหรับแหล่งเงินที่จะนำมาใช้ในโครงการเงินดิจิทัล 10,000 บาท แหล่งข่าวอธิบายเพิ่มเติมว่า ตามที่วางแผนไว้เพื่อให้สามารถดำเนินโครงการได้ ในช่วงที่งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2567 ยังไม่บังคับใช้ก็คือ ต้องใช้มาตรการกึ่งการคลัง โดยยืมเงินรัฐวิสาหกิจ ซึ่งคาดว่าน่าจะเป็นเงินจากธนาคารของรัฐมาใช้ไปก่อน โดยรัฐบาลจะตั้งงบฯชดเชยคืนให้ในภายหลัง ซึ่งจะมีกรอบวงเงินที่ใช้ได้ ตามมาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 ที่กำหนดว่า ยอดคงค้าง หรือภาระที่รัฐต้องรับชดเชยค่าใช้จ่าย หรือการสูญเสียรายได้ในการดำเนินกิจกรรม มาตรการ หรือโครงการ ต้องไม่เกิน 32% ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี
ทั้งนี้ มาตรา 28 แห่ง พ.ร.บ.วินัยการเงินการคลังฯ กำหนดว่า การจะใช้เงินตามแนวทางดังกล่าว ต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ อาทิ 1) ฟื้นฟูหรือกระตุ้นเศรษฐกิจ 2) เพิ่มขีดความสามารถในการประกอบอาชีพหรือยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน หรือ 3) ช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบจากสาธารณภัย หรือการก่อวินาศกรรม
“ตอนนี้วงเงินตามมาตรา 28 ถ้าเป็นตามกรอบของปีงบประมาณ 2566 ก็จะเหลือแค่ประมาณ 18,000 ล้านบาท ซึ่งไม่พอแน่นอน แนวทางที่ทำได้ก็คือ ต้องขยายกรอบวงเงินตรงนี้ จากปัจจุบันกำหนดไว้ที่ไม่เกิน 32% ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี ก็ขึ้นอยู่กับว่ารัฐบาลต้องการวงเงินเท่าไหร่ จะขยายเป็นกี่เปอร์เซ็นต์” แหล่งข่าวกล่าว
ที่มา ประขาชาติธุรกิจ
สบายใจได้ตอนแจ้ง กกต. เพื่อไทยเขาไม่ได้ยืมเงิน หรือกู้แน่นอน🤩#เงินดิจิทัล#รัฐบาลเพื่อไทย#รัฐบาลเศรษฐา#เพื่อการโฆษณาเท่านั้น pic.twitter.com/hMpHVBr5mt
— DEM@𝕏 (@Son0fThorN) September 6, 2023