The Wall Street Journal
หมายเหตุ คำแปลไทยต่อจากอังกฤษ
Since the coup, the junta has made economic matters its priority. It has paid almost $3 billion in delayed subsidies to farmers. The generals have cleared around a third of a $22 billion backlog in investment projects. And they have announced plans to spend $75 billion over eight years to improve transport infrastructure, linking Thailand with China.
Their goal is to arrest a slump that has made Thailand one of Asia's worst-performing economies this year.
As a model, they are looking to the government of Prem Tinsulanonda, a former army commander who led Thailand as prime minister in the 1980s, backed by a cohort of technocrats. Gen. Prem, who at 93 years old still wields clout in the military, leveraged Japanese government loans to build roads, rail and industrial parks along Thailand's eastern seaboard.
A petrochemical industry flourished and the economy was growing by double digits at the end of the decade. Foreign auto makers began to set up in Thailand, turning the nation into the "Detroit of the East."
"The aim is to get back to the good old days of 1980 to 1988, when technocrats ran the country. There's a belief, there'll be government investment-led growth," said Supavud Saicheua, an economist at Phatra Securities, a Thai stock brokerage.
But it was easier then. Thailand was an impoverished, rural economy, and the government made rapid gains through state spending that encouraged people to move from fields to factories. Southeast Asia was peaceful after years of conflict. Foreign investment poured into Thailand, especially from Japan, whose companies were looking for cheaper production bases.
Today, Thailand's economy is over 10 times its size at the beginning of the Prem era. Since the 1997-98 Asian financial crisis, public spending has failed to boost the economy, according to Mr. Supavud. A state-led growth model is "not as compelling as in the past," he said.
Backers of the military contend its plans to spend on railways and roads will create construction jobs, spur greater urbanization and fuel new trading opportunities with China.
Still, there are reasons to doubt Thailand's long-term competitiveness. After booming in the 1980s and early 1990s, the country has failed to develop as quickly since the Asian crisis. As wages rose, Thailand lost low-end production of garments and sneakers to poorer nations such as Vietnam and Cambodia.
Political turmoil has led to under-investment in education, research and infrastructure, stopping the country from moving into higher-end parts of the global electronics supply chain. Exports have stagnated over the past three years. Once-strong sectors like hard-disk drive production are facing tough times as global tastes change. China is starting to eat away at Thailand's market share in electronics.
Ulrich Zachau, the World Bank's director for Southeast Asia, says the junta's focus on high-speed railways and other infrastructure could help reduce business costs. But such spending, he says, must be matched by investment in education to help Thailand catch up with richer neighbors like China and Malaysia.
"It's ultimately critical for moving up the value chain," Mr. Zachau said. There's no evidence authoritarian governments are any better than democratically elected ones at ushering in such changes, he added.
The junta's supporters criticize former Prime Minister Thaksin Shinawatra, a telecommunications billionaire who ran Thailand for five years before the military deposed him in a 2006 coup, for wasting money on populist policies rather than infrastructure. His sister, Yingluck Shinawatra, served as premier until a court removed her from office in May for abuse of power, two weeks before the military coup.
Piyasvasti Amranand, who the army picked in June as chairman of state-owned oil-and-gas giant PTT PTT.TH +2.80% PLC, is urging the junta to cut back on energy subsidies that he says have cost $15 billion over the past three years, and to use the savings to fund its spending plans. "Right now we have higher need for rail systems and better transport links," Mr. Piyasvasti said in an interview.
Others doubt whether the junta can make progress within a year, after which the generals have intimated they will hold elections. Some parts of their plan have been on the drawing board for decades, including under Ms. Yingluck's government, but got held up by Thailand's frequent changes of administration.
"Until you see contracts awarded and projects break ground, I'm not banking on any of them," said Marc Spiegel, a Bangkok-based executive with Vinarco International, a technical consultancy.
Thailand's economy, meanwhile, contracted 0.6% on year in the first quarter and is forecast to have slowed further between April and June, which would mark a technical recession. (Official data is due Monday.) Foreign investment applications, by number of projects, slumped by around a third on year during the first five months, and 10% by value. Applications by Japanese companies, the largest investors in Thailand, fell the most.
A credit binge in the past several years has left Thai households with one of the largest debt burdens in the region, which is likely to constrain private spending. Amid weak demand, factories are running at only two-thirds of capacity, limiting fresh investment.
Optimists contend the second half of the year will be brighter. The coup has restored calm to the streets of Bangkok, the capital, after months of destabilizing political protests. An index of consumer confidence rose for a third straight month in July. Thailand's main stock index is 8% higher since the coup.
"We certainly see growth potential coming back," said Matt Bradley, president of Ford Motor Co.'s Southeast Asian operations.
Wall Street Journal :ประยุทธ์กำลังหันไปหายุทธศาสตร์สมัยเปรม
ตั้งแต่รัฐประหารมา รัฐบาลเผด็จการได้มีการจ่ายเงินเกือบ 3 พันล้านดอลลาร์ จ่ายเงินค่าข้าวที่ค้างอยู่ นายพลไทยได้ปลดล็อกเงินลงทุนโครงการต่างๆ ไปแล้วสองในสามของมูลค่า ๒๒,๐๐๐ ล้านดอลลาร์ และได้ประกาศที่จะใช้งบประมาณ ๗๕,๐๐๐ ล้านดอลลาร์ในระยะเวลา ๘ ปี เพื่อพัฒนาสาธารณูปโภคเชื่อมโยงประเทศไทยกับประเทศจีน ด้วยระบบราง
ซึ่งสมัยที่ดำรงตำแหน่งนายกฯ เปรมได้ต่อรองกู้เงินจากรัฐบาลญี่ปุ่นเพื่อสร้างถนน ทางรถไฟ และนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุต (สมัยนั้น รมต. ไปขอกู้เงินญี่ปุ่นโดยอ้างว่า สร้างถนนเพื่อให้รถญี่ปุ่นวิ่ง สร้างนิคมอุตสาหกรรมเพื่อบริษัทญี่ปุ่นจะได้ขยายตัวได้)
ยุคนั้นอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเจริญรุ่งเรืองและเศรษฐกิจกำลังเติบโตเกิน 10% ผู้ผลิตรถยนต์ต่างประเทศเริ่มมองว่าไทยกำลังจะเป็น "ดีทรอยต์แห่งตะวันออก".
"เป้าหมายคือไทยจะย้อนกลับไปในยุควันวานยังหวานของปี ค.ศ. 1980 ถึง 1988 สมัยนั้นจัดว่าเป็นยุคเทคโนแครตครองเมือง และมีความเชื่อว่าประเทศจะเติบโตได้ด้วยการลงทุนที่นำโดยรัฐบาล" ศุภวุฒิ สายเชื้อ นักเศรษฐศาสตร์ที่บริษัทหลักทรัพย์ภัทรไทยกล่าว
แต่สมัยนั้นมันง่ายกว่าสมัยนี้มาก ในยุคนั้นประเทศไทยยากจน และรัฐบาลกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการใช้จ่ายของรัฐ เรียกร้องให้ผู้คนเลิกทำนา หันไปทำงานในโรงงานของญี่ปุ่นที่มาเปิดใหม่ยุคนั้น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพิ่งจะสงบหลังจากหลายปีของความขัดแย้ง (ยุคคอมมิวนิสต์ถูกปราบลงได้) เงินลงทุนจากต่างประเทศหลั่งไหลเข้ามาในไทยโดย เฉพาะอย่างยิ่งจากประเทศญี่ปุ่นซึ่งมองหาฐานการผลิตที่ถูกกว่า
ส่วนวันนี้เศรษฐกิจไทยใหญ่กว่าในยุคนั้น 10 เท่า ตั้งแต่วิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย 1997-1998 (ต้มยำกุ้ง) การใช้จ่ายภาครัฐแทบจะไม่ข่วยในการกระตุ้นเศรษฐกิจ "โมเดลนั้นจะไม่สำเร็จเหมือนในอดีตที่ผ่านมา" ศุภวุฒิกล่าว
แต่พวกที่สนับสนุนรัฐบาลเผด็จการก็ยืนยันว่า แผนการณ์ที่จะใช้จ่ายในการสร้างรางและถนนจะสร้างงานในภาคการก่อสร้าง กระตุ้นเศรษฐกิจของเมืองที่รถไฟผ่านมากขึ้น และเพิ่มโอกาสทำการค้ากับจีน
ยังคงมีคำถามอีกมากมายในความสามารถของการแข่งขันในระยะยาวของไทย หลังจากที่เฟื่องฟูในช่วง ทศวรรษ 1980 และต้นทศวรรษ 1990 ไทยไม่สามารถพัฒนาประเทศได้อย่างรวดเร็วนับแต่เกิดวิกฤตเอเชียฯ ในขณะที่ค่าจ้างเพิ่มขึ้น ไทยสูญเสียตลาดรับจ้างผลิตเสื้อผ้าและรองเท้าไปให้กับประเทศยากจนกว่า เช่น เวียดนามและกัมพูชา ความวุ่นวายทางการเมืองทำให้ไทยขาดการลงทุนในด้านการศึกษา การวิจัย และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ไทยไม่สามารถพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นอุตสาหกรรมระดับสูงกว่าได้ (เช่น การผลิตชิป ก็มีการย้ายโรงงานไปอยู่ที่มาเลเซียแทน)
การส่งออกคงที่มาสามปี อุตสาหกรรมที่ไทยเคยแข็งแกร่ง เช่นการผลิตฮาร์ดดิสก์กำลังเผชิญกับเวลาที่ยากลำบาก ในขณะที่ทั่วโลกมีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จีนเริ่มที่จะกินเข้าไปที่ส่วนแบ่งการตลาดของไทยในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
อูริช ซาเชา ผู้อำนวยการธนาคารโลกประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กล่าวว่า การพัฒนาของรถไฟความเร็วสูงและโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายทางธุรกิจ แต่การใช้จ่ายดังกล่าวต้องมาพร้อมกับการลงทุนในด้านการศึกษา ที่จะช่วยให้ประเทศไทยพัฒนาขึ้นไปเทียบเคียงกับเพื่อนบ้านเช่นจีนและมาเลเซีย
"มันเป็นช่วงลำบากมากที่ไทยจะพัฒนาขึ้นมาอีก" อูริชกล่าว "ยังมองไม่เห็นเลยว่ารัฐบาลเผด็จการนี้ทำงานได้ดีกว่ารัฐบาลที่ได้รับการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย ในอันที่จะพัฒนาไทยให้ดีขึ้น"
(บรรยายภาพ การชุมนุมในกรุงเทพฯ ประท้วงต่อต้านคณะทหาร ความวุ่นวายทางการเมืองเป็นเครื่องเหนี่ยวรั้งความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ/ สำนักข่าวรอยเตอร์รายงาน)
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ที่กองทัพเลือกให้เป็นประธานรัฐวิสาหกิจ ปตท. เรียกร้องให้รัฐบาลเผด็จการตัดการอุดหนุนด้านพลังงานที่เขาบอกว่ามีค่าใช้จ่ายถึง 450,000 ล้านบาทในสามปีที่ผ่านมา และนำเงินออมคงคลังมาใช้จ่ายในภาครัฐ
"ตอนนี้เรามีความต้องการระบบรางและการเชื่อมโยงการขนส่งที่ดีขึ้น" นายปิยสวัสดิ์กล่าวในการสัมภาษณ์
ส่วนอีกหลายคนก็สงสัยว่ารัฐบาลเผด็จการจะทำงานให้สำเร็จภายในหนึ่งปีตามที่ประยุทธ์ประกาศไว้จริงหรือ เพราะดูแล้วน่าจะใช้เวลานับสิบปีสำหรับประเทศที่ขาดความมั่นคงจากการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลบ่อยๆ อย่างไทย
"ต่อเมื่อได้เห็นการเซ็นสัญญาว่าจ้าง และโครงการเริ่มลงเสาเข็ม ผมคิดว่าจะไม่มีธนาคารไหนยอมให้พวกทหารกู้" มาร์ค สปีเกล ผู้บริหารของบริษัทที่ปรึกษาระหว่างประเทศ Vinarco กล่าว
เศรษฐกิจไทยหดตัว 0.6% ในช่วงไตรมาสแรก และคาดว่าจะมีการชะลอตัวรุนแรงในไตรมาศที่สอง ซึ่งจะเป็นเครื่องชี้ถึงภาวะเศรษฐกิจถดถอยทางเทคนิค (ข้อมูลอย่างเป็นทางการล่าสุด 11 สค 57) การลงทุนต่างประเทศ นับตามจำนวนโครงการลดลงหนึ่งในสามในช่วงห้าเดือนแรก และลดลง 10% จากมูลค่าโครงการ โดยในหมู่บริษัทญี่ปุ่นอันเป็นกลุ่มผู้ลงทุนใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ลดลงมากที่สุด
หนี้สินครัวเรือนของไทยเป็นภาระหนี้ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคนี้ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะจำกัดการใช้จ่ายภาคเอกชน ท่ามกลางความต้องการที่ถดถอย โรงงานทำงานอยู่เพียงสองในสามของกำลังผลิต โดยไร้ซึ่งการลงทุนโครงการใหม่
ส่วนพวกโลกสวยก็ยังแย้งว่า ในช่วงครึ่งหลังของปีนี้เศรษฐกิจจะสดใส การรัฐประหารได้คืนความสงบให้กับกรุงเทพฯ เมืองหลวงของรัฐ หลังจากหลายเดือนของการประท้วงทางการเมืองที่ก่อให้เกิดความวุ่นวาย
ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นเป็นเดือนที่สามเมื่อกรกฎาคม ดัชนีหุ้นหลักของไทยคือ 8% สูงสุดนับตั้งแต่การทำรัฐประหาร
"แน่นอนเรายังพอมองเห็นว่าศักยภาพในการเติบโตจะกลับมาใหม่ได้" แมตต์ แบรดลีย์ ประธานฝ่ายปฏิบัติการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของฟอร์ดมอเตอร์ จำกัด กล่าว
หมายเหตุ คำแปลส่วนใหญ่ได้มาจากโพสต์ของ ที่เว็บบอร์ด คนเหมือนกันโดยที่ไทยอีนิวส์ทำการปรับแก้เล็กน้อย
หมายเหตุ คำแปลไทยต่อจากอังกฤษ
BANGKOK—In the 1980s, Thailand's military-backed government oversaw a growth miracle, spurred by the development of heavy industry and Japanese investment. The generals who seized power in a military coup in May are staking their legitimacy on a similar renaissance—but they face a more complex economic backdrop.
Since the coup, the junta has made economic matters its priority. It has paid almost $3 billion in delayed subsidies to farmers. The generals have cleared around a third of a $22 billion backlog in investment projects. And they have announced plans to spend $75 billion over eight years to improve transport infrastructure, linking Thailand with China.
Their goal is to arrest a slump that has made Thailand one of Asia's worst-performing economies this year.
As a model, they are looking to the government of Prem Tinsulanonda, a former army commander who led Thailand as prime minister in the 1980s, backed by a cohort of technocrats. Gen. Prem, who at 93 years old still wields clout in the military, leveraged Japanese government loans to build roads, rail and industrial parks along Thailand's eastern seaboard.
A petrochemical industry flourished and the economy was growing by double digits at the end of the decade. Foreign auto makers began to set up in Thailand, turning the nation into the "Detroit of the East."
"The aim is to get back to the good old days of 1980 to 1988, when technocrats ran the country. There's a belief, there'll be government investment-led growth," said Supavud Saicheua, an economist at Phatra Securities, a Thai stock brokerage.
But it was easier then. Thailand was an impoverished, rural economy, and the government made rapid gains through state spending that encouraged people to move from fields to factories. Southeast Asia was peaceful after years of conflict. Foreign investment poured into Thailand, especially from Japan, whose companies were looking for cheaper production bases.
Backers of the military contend its plans to spend on railways and roads will create construction jobs, spur greater urbanization and fuel new trading opportunities with China.
Still, there are reasons to doubt Thailand's long-term competitiveness. After booming in the 1980s and early 1990s, the country has failed to develop as quickly since the Asian crisis. As wages rose, Thailand lost low-end production of garments and sneakers to poorer nations such as Vietnam and Cambodia.
Political turmoil has led to under-investment in education, research and infrastructure, stopping the country from moving into higher-end parts of the global electronics supply chain. Exports have stagnated over the past three years. Once-strong sectors like hard-disk drive production are facing tough times as global tastes change. China is starting to eat away at Thailand's market share in electronics.
Ulrich Zachau, the World Bank's director for Southeast Asia, says the junta's focus on high-speed railways and other infrastructure could help reduce business costs. But such spending, he says, must be matched by investment in education to help Thailand catch up with richer neighbors like China and Malaysia.
"It's ultimately critical for moving up the value chain," Mr. Zachau said. There's no evidence authoritarian governments are any better than democratically elected ones at ushering in such changes, he added.
Demonstrators protest against military rule in Bangkok in May. Political turmoil has been a drag on growth.Reuters |
Piyasvasti Amranand, who the army picked in June as chairman of state-owned oil-and-gas giant PTT PTT.TH +2.80% PLC, is urging the junta to cut back on energy subsidies that he says have cost $15 billion over the past three years, and to use the savings to fund its spending plans. "Right now we have higher need for rail systems and better transport links," Mr. Piyasvasti said in an interview.
Others doubt whether the junta can make progress within a year, after which the generals have intimated they will hold elections. Some parts of their plan have been on the drawing board for decades, including under Ms. Yingluck's government, but got held up by Thailand's frequent changes of administration.
"Until you see contracts awarded and projects break ground, I'm not banking on any of them," said Marc Spiegel, a Bangkok-based executive with Vinarco International, a technical consultancy.
Thailand's economy, meanwhile, contracted 0.6% on year in the first quarter and is forecast to have slowed further between April and June, which would mark a technical recession. (Official data is due Monday.) Foreign investment applications, by number of projects, slumped by around a third on year during the first five months, and 10% by value. Applications by Japanese companies, the largest investors in Thailand, fell the most.
A credit binge in the past several years has left Thai households with one of the largest debt burdens in the region, which is likely to constrain private spending. Amid weak demand, factories are running at only two-thirds of capacity, limiting fresh investment.
Optimists contend the second half of the year will be brighter. The coup has restored calm to the streets of Bangkok, the capital, after months of destabilizing political protests. An index of consumer confidence rose for a third straight month in July. Thailand's main stock index is 8% higher since the coup.
"We certainly see growth potential coming back," said Matt Bradley, president of Ford Motor Co.'s Southeast Asian operations.
Wall Street Journal :ประยุทธ์กำลังหันไปหายุทธศาสตร์สมัยเปรม
เมื่อยุคทศวรรษ
1980 รัฐบาล
(เปรม) ที่ได้รับการสนับสนุนของทหารไทยมีการกระตุ้นความเจริญเติบโตด้วยการพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก
และเสริมด้วยการลงทุนของญี่ปุ่น
นายพลไทยที่ยึดอำนาจในคราวนี้คาดหวังว่าความเจริญทางเศรษฐกิจจะเหมือนวันวาน แต่ความจริงกลับต้องเผชิญความผันผวนทางเศรษฐกิจที่ซับซ้อนมากกว่าในยุคนั้น
นายพลไทยที่ยึดอำนาจในคราวนี้คาดหวังว่าความเจริญทางเศรษฐกิจจะเหมือนวันวาน แต่ความจริงกลับต้องเผชิญความผันผวนทางเศรษฐกิจที่ซับซ้อนมากกว่าในยุคนั้น
ตั้งแต่รัฐประหารมา รัฐบาลเผด็จการได้มีการจ่ายเงินเกือบ 3 พันล้านดอลลาร์ จ่ายเงินค่าข้าวที่ค้างอยู่ นายพลไทยได้ปลดล็อกเงินลงทุนโครงการต่างๆ ไปแล้วสองในสามของมูลค่า ๒๒,๐๐๐ ล้านดอลลาร์ และได้ประกาศที่จะใช้งบประมาณ ๗๕,๐๐๐ ล้านดอลลาร์ในระยะเวลา ๘ ปี เพื่อพัฒนาสาธารณูปโภคเชื่อมโยงประเทศไทยกับประเทศจีน ด้วยระบบราง
เป้าหมายของรัฐบาลเผด็จการ
คือทำให้ประเทศไทยพ้นจากสภาพประเทศที่มีความเติบโตต่ำที่สุดของเอเชียในปีนี้
รูปแบบที่รัฐบาลเผด็จการกำลังมองหา คือรูปแบบรัฐบาลเปรม ติณสูลานนท์ อดีตผู้บัญชาการทหารบก ที่เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อปี 1980 ได้รับการสนับสนุนโดยกลุ่มของเทคโนแครต ปัจจุบันเปรมมีอายุ 93 ปีแล้ว แต่ยังมีบารมีอิทธิพลในแวดวงทหารไทย
รูปแบบที่รัฐบาลเผด็จการกำลังมองหา คือรูปแบบรัฐบาลเปรม ติณสูลานนท์ อดีตผู้บัญชาการทหารบก ที่เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อปี 1980 ได้รับการสนับสนุนโดยกลุ่มของเทคโนแครต ปัจจุบันเปรมมีอายุ 93 ปีแล้ว แต่ยังมีบารมีอิทธิพลในแวดวงทหารไทย
ซึ่งสมัยที่ดำรงตำแหน่งนายกฯ เปรมได้ต่อรองกู้เงินจากรัฐบาลญี่ปุ่นเพื่อสร้างถนน ทางรถไฟ และนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุต (สมัยนั้น รมต. ไปขอกู้เงินญี่ปุ่นโดยอ้างว่า สร้างถนนเพื่อให้รถญี่ปุ่นวิ่ง สร้างนิคมอุตสาหกรรมเพื่อบริษัทญี่ปุ่นจะได้ขยายตัวได้)
ยุคนั้นอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเจริญรุ่งเรืองและเศรษฐกิจกำลังเติบโตเกิน 10% ผู้ผลิตรถยนต์ต่างประเทศเริ่มมองว่าไทยกำลังจะเป็น "ดีทรอยต์แห่งตะวันออก".
"เป้าหมายคือไทยจะย้อนกลับไปในยุควันวานยังหวานของปี ค.ศ. 1980 ถึง 1988 สมัยนั้นจัดว่าเป็นยุคเทคโนแครตครองเมือง และมีความเชื่อว่าประเทศจะเติบโตได้ด้วยการลงทุนที่นำโดยรัฐบาล" ศุภวุฒิ สายเชื้อ นักเศรษฐศาสตร์ที่บริษัทหลักทรัพย์ภัทรไทยกล่าว
แต่สมัยนั้นมันง่ายกว่าสมัยนี้มาก ในยุคนั้นประเทศไทยยากจน และรัฐบาลกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านการใช้จ่ายของรัฐ เรียกร้องให้ผู้คนเลิกทำนา หันไปทำงานในโรงงานของญี่ปุ่นที่มาเปิดใหม่ยุคนั้น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพิ่งจะสงบหลังจากหลายปีของความขัดแย้ง (ยุคคอมมิวนิสต์ถูกปราบลงได้) เงินลงทุนจากต่างประเทศหลั่งไหลเข้ามาในไทยโดย เฉพาะอย่างยิ่งจากประเทศญี่ปุ่นซึ่งมองหาฐานการผลิตที่ถูกกว่า
ส่วนวันนี้เศรษฐกิจไทยใหญ่กว่าในยุคนั้น 10 เท่า ตั้งแต่วิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย 1997-1998 (ต้มยำกุ้ง) การใช้จ่ายภาครัฐแทบจะไม่ข่วยในการกระตุ้นเศรษฐกิจ "โมเดลนั้นจะไม่สำเร็จเหมือนในอดีตที่ผ่านมา" ศุภวุฒิกล่าว
แต่พวกที่สนับสนุนรัฐบาลเผด็จการก็ยืนยันว่า แผนการณ์ที่จะใช้จ่ายในการสร้างรางและถนนจะสร้างงานในภาคการก่อสร้าง กระตุ้นเศรษฐกิจของเมืองที่รถไฟผ่านมากขึ้น และเพิ่มโอกาสทำการค้ากับจีน
ยังคงมีคำถามอีกมากมายในความสามารถของการแข่งขันในระยะยาวของไทย หลังจากที่เฟื่องฟูในช่วง ทศวรรษ 1980 และต้นทศวรรษ 1990 ไทยไม่สามารถพัฒนาประเทศได้อย่างรวดเร็วนับแต่เกิดวิกฤตเอเชียฯ ในขณะที่ค่าจ้างเพิ่มขึ้น ไทยสูญเสียตลาดรับจ้างผลิตเสื้อผ้าและรองเท้าไปให้กับประเทศยากจนกว่า เช่น เวียดนามและกัมพูชา ความวุ่นวายทางการเมืองทำให้ไทยขาดการลงทุนในด้านการศึกษา การวิจัย และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ไทยไม่สามารถพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นอุตสาหกรรมระดับสูงกว่าได้ (เช่น การผลิตชิป ก็มีการย้ายโรงงานไปอยู่ที่มาเลเซียแทน)
การส่งออกคงที่มาสามปี อุตสาหกรรมที่ไทยเคยแข็งแกร่ง เช่นการผลิตฮาร์ดดิสก์กำลังเผชิญกับเวลาที่ยากลำบาก ในขณะที่ทั่วโลกมีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จีนเริ่มที่จะกินเข้าไปที่ส่วนแบ่งการตลาดของไทยในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
อูริช ซาเชา ผู้อำนวยการธนาคารโลกประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กล่าวว่า การพัฒนาของรถไฟความเร็วสูงและโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายทางธุรกิจ แต่การใช้จ่ายดังกล่าวต้องมาพร้อมกับการลงทุนในด้านการศึกษา ที่จะช่วยให้ประเทศไทยพัฒนาขึ้นไปเทียบเคียงกับเพื่อนบ้านเช่นจีนและมาเลเซีย
"มันเป็นช่วงลำบากมากที่ไทยจะพัฒนาขึ้นมาอีก" อูริชกล่าว "ยังมองไม่เห็นเลยว่ารัฐบาลเผด็จการนี้ทำงานได้ดีกว่ารัฐบาลที่ได้รับการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย ในอันที่จะพัฒนาไทยให้ดีขึ้น"
(บรรยายภาพ การชุมนุมในกรุงเทพฯ ประท้วงต่อต้านคณะทหาร ความวุ่นวายทางการเมืองเป็นเครื่องเหนี่ยวรั้งความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ/ สำนักข่าวรอยเตอร์รายงาน)
กลุ่มผู้สนับสนุนคณะรัฐประหารวิพากษ์วิจารณ์อดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ
ชินวัตร ผู้ซึ่งบริหารประเทศไทยอยู่ห้าปีก่อนที่จะถูกกองทัพโค่นลงไปในปี 2006 ว่าไทยต้องสิ้นเปลืองงบประมาณไปมากมายกับนโยบายประชานิยม
แทนที่จะเอาเงินนั้นไปจัดสร้างสาธารณูปโภค น้องสาวของเขา ยิ่งลักษณ์ ชิยวัตร
เป้นนายกรัฐมนตรีมาจนกระทั่งถูกศาลปลดจากตำแหน่งในเดือนพฤษภาคม
สองอาทิตย์ก่อนถูกรัฐประหาร
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ที่กองทัพเลือกให้เป็นประธานรัฐวิสาหกิจ ปตท. เรียกร้องให้รัฐบาลเผด็จการตัดการอุดหนุนด้านพลังงานที่เขาบอกว่ามีค่าใช้จ่ายถึง 450,000 ล้านบาทในสามปีที่ผ่านมา และนำเงินออมคงคลังมาใช้จ่ายในภาครัฐ
"ตอนนี้เรามีความต้องการระบบรางและการเชื่อมโยงการขนส่งที่ดีขึ้น" นายปิยสวัสดิ์กล่าวในการสัมภาษณ์
ส่วนอีกหลายคนก็สงสัยว่ารัฐบาลเผด็จการจะทำงานให้สำเร็จภายในหนึ่งปีตามที่ประยุทธ์ประกาศไว้จริงหรือ เพราะดูแล้วน่าจะใช้เวลานับสิบปีสำหรับประเทศที่ขาดความมั่นคงจากการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลบ่อยๆ อย่างไทย
"ต่อเมื่อได้เห็นการเซ็นสัญญาว่าจ้าง และโครงการเริ่มลงเสาเข็ม ผมคิดว่าจะไม่มีธนาคารไหนยอมให้พวกทหารกู้" มาร์ค สปีเกล ผู้บริหารของบริษัทที่ปรึกษาระหว่างประเทศ Vinarco กล่าว
เศรษฐกิจไทยหดตัว 0.6% ในช่วงไตรมาสแรก และคาดว่าจะมีการชะลอตัวรุนแรงในไตรมาศที่สอง ซึ่งจะเป็นเครื่องชี้ถึงภาวะเศรษฐกิจถดถอยทางเทคนิค (ข้อมูลอย่างเป็นทางการล่าสุด 11 สค 57) การลงทุนต่างประเทศ นับตามจำนวนโครงการลดลงหนึ่งในสามในช่วงห้าเดือนแรก และลดลง 10% จากมูลค่าโครงการ โดยในหมู่บริษัทญี่ปุ่นอันเป็นกลุ่มผู้ลงทุนใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ลดลงมากที่สุด
หนี้สินครัวเรือนของไทยเป็นภาระหนี้ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคนี้ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะจำกัดการใช้จ่ายภาคเอกชน ท่ามกลางความต้องการที่ถดถอย โรงงานทำงานอยู่เพียงสองในสามของกำลังผลิต โดยไร้ซึ่งการลงทุนโครงการใหม่
ส่วนพวกโลกสวยก็ยังแย้งว่า ในช่วงครึ่งหลังของปีนี้เศรษฐกิจจะสดใส การรัฐประหารได้คืนความสงบให้กับกรุงเทพฯ เมืองหลวงของรัฐ หลังจากหลายเดือนของการประท้วงทางการเมืองที่ก่อให้เกิดความวุ่นวาย
ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นเป็นเดือนที่สามเมื่อกรกฎาคม ดัชนีหุ้นหลักของไทยคือ 8% สูงสุดนับตั้งแต่การทำรัฐประหาร
"แน่นอนเรายังพอมองเห็นว่าศักยภาพในการเติบโตจะกลับมาใหม่ได้" แมตต์ แบรดลีย์ ประธานฝ่ายปฏิบัติการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของฟอร์ดมอเตอร์ จำกัด กล่าว
หมายเหตุ คำแปลส่วนใหญ่ได้มาจากโพสต์ของ ที่เว็บบอร์ด คนเหมือนกันโดยที่ไทยอีนิวส์ทำการปรับแก้เล็กน้อย