อันนี้เค้าด่าอิตู่ป่ะ เค้าไม่ได้ด่าพ่อมึง รึพ่อมึงก็เป็น Dictator... ? #แบนMONO29 pic.twitter.com/KCDWSgV2Sx— วีระพาบ (@GROOVIXX) December 16, 2019
ไม่ชอบรัฐบาลชุดนี้ = ไม่รักเจ้า— ฉันพยายามแล้ว ฉันขอโทษ (@xxxzor) December 16, 2019
ไม่ชอบทหาร/รัฐบาลเผด็จการ = ไม่รักเจ้า
เห็นด้วยกับธนาธร = ไม่รักเจ้า
สรุป!!ตอนนี้ใครเป็นเจ้ากันแน่ รัฐบาลอ่อ?
โยงใยยิ่งกว่าสไปเดอร์แมน #แบนMONO29 #วิ่งไล่ลุง
“ถ้าพ่อยังอยู่คงให้อภัยลูกได้ แต่คงเสียใจที่เห็นลูกทะเลาะกัน”#แบนMONO29 pic.twitter.com/FaDzVwCfkg— 𝐍𝐨𝐢𝐫 . (@old_plot1996) December 16, 2019
พ่อบอกว่า ทหารควรอยู่ในที่ของตน ไม่ควรยุ่งการเมืองด้วยค่ะ อิควาย #แบนMONO29 pic.twitter.com/WBAfBioBgS— มักผู้บ่าวตาโตๆ (@wulunniwulunni) December 16, 2019
จะไม่มีใครควรต้องเสียงานเพราะการเมือง/ถ้อยแถลงจาก ประธานกมธ.แรงงาน สภาผู้แทนราษฏร ครับ #แบนMONO29 pic.twitter.com/YD4Y0T0x6o— ARM SAMYAN (@armupdate) December 16, 2019
สิ่งที่น่ากลัวไม่ใช่การถูกเลิกจ้างของพนักงานคนเดียว แต่มันคือการบีบให้ประชาชนกลัวเพราะพนง. ถูกเลิกจ้างเพราะไปลบหลู่เขา #แบนMONO29— 𝑵𝒐𝒔𝒕𝒂𝒍𝒈𝒊𝒂 (@jrt2644) December 16, 2019
คุณจุลเจิม เป็นถึงหม่อมเจ้า แถมตัวเองก็มีลูกสาว— นิรนาม_ (@ssj_2475) December 16, 2019
แต่กลับมาล่าแม่มด ใช้ถ้อยคำต่ำตม กล่าวหา
ผู้หญิงตัวเล็กๆ เอาชื่อนามสกุลเขา เอารูปเขา
เอาสถาบันการศึกษาเขา มาประจานให้เสียหาย
พร้อมก่นด่าด้วยถ้อยคำหยาบคาย
ราวกับคนไร้การศึกษา ไร้วุฒิภาวะ
โครตน่าสมเพช ถ้ารอบตัวของสถาบันมีแต่คนแบบนี้ pic.twitter.com/0UIIGoZSyo
...น้องที่ถูกไล่ออก ควรดำเนินคดีกับคุณจุลเจิม ยุคล (มจ.) ที่กล่าวหาใส่ความเธอต่อสาธารณะว่าย่ำยีและคิดร้ายต่อในหลวง ร.9 และชี้นำให้ผู้ที่เข้าไปอ่านเกิดความเกลียดชังต่อผู้ถูกกล่าวหา— karnt (@karnt) December 16, 2019
.
อนึ่ง หากไม่เห็นด้วยกับการฟ้องหมิ่นอาญา ให้ฟ้องแพ่งครับ
.#แก่ไปไม่จุลเจิม pic.twitter.com/TerB9dbL1A
[ แถลงการณ์ กรณีอาจมีความเป็นไปได้ว่ามีการบังคับพนักงานบริษัทให้ลาออก เพราะเข้าร่วมชุมนุมทางการเมือง ] ✊✊✊
การเลิกจ้าง กดดันให้ลาออก ไล่ออก โดยข้อบังคับของบริษัทที่ไม่เกี่ยวกับการทำงานและขัดกับหลักสิทธิพื้นฐาน เป็นสิ่งที่ไม่สามารถทำได้-หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องติดตามเรื่องนี้โดยด่วน !
.
จากกรณี บริษัทผลิตสื่อรายหนึ่งได้ทำการกดดันให้พนักงานลาออกจากการแสดงความเห็นทางการเมือง
.
เมื่อไม่กี่วันก่อน โลกออนไลน์แชร์ข้อความเรื่อง ประมาณอย่าดูดายเมื่อ คนกลุ่มอื่นในสังคมถูกคุกคาม เพราะสุดท้ายมันก็จะวนมาถึงเรา (ข้อความของ Martin Niemoller ขยายโดยคุณชัชชาติ สิทธิพันธ์)
.
ประเทศนี้มีการ เลิกจ้าง ไล่ออก บังคับให้ลาออกในหมู่ผู้ใช้แรงงานบ่อยครั้ง เพื่อการสร้าง 'วินัย'ในระบบทุนนิยม โดยพวกเขาจะแบ่งแยกให้คนที่ถูกกระทำเป็นสิ่งที่ผิดปกติ แต่สุดท้ายตะปูตัวไหนที่โผล่หัวก็จะถูกค้อนทุบลงไป เหลือแต่ผืนไม้ราบๆ
.
คำถามสำคัญคือนายจ้างสามารถทำตัวเป็นรัฐอิสระในการกำหนดกฎกติกาเกินกว่ามาตรฐานที่ยอมรับร่วมกัน หรือขัดกับสิทธิพื้นฐาน สิทธิมนุษยชน โดยเป็นเหตุทำโทษ กดดันให้ลาออกหรือเลิกจ้าง โดยไม่เกี่ยวข้องกับการทำงานได้หรือไม่...คำตอบคือ 'ไม่ได้' ทั้งในทางหลักกฎหมายและหลักการความเข้าใจพื้นฐาน
.
ผมยืนยันว่าเป็นสิทธิของผู้บริโภคที่จะปฏิเสธองค์กรที่ขูดรีดเอาเปรียบเหล่านี้ เราย่อมไม่สบายใจที่สินค้าและบริการที่เราได้รับ มีเลือด น้ำตาของคนทำงานอยู่ในนั้น เราจะสบายใจกับเลือด น้ำตาเหล่านั้นได้มั้ยทุกครั้งที่เราใช้สินค้าและบริการเหล่านั้น เพื่อความสุขของเรา
.
ถ้าเราคิดว่าไม่ใช่เรื่องของเรา คิดว่าใครทำคนนั้นรับผิดชอบเอง วันหนึ่งพอมาถึงเรา เราก็จะไม่เหลือใครที่จะปกป้องเรา
.
ในฐานะประธานกรรมาธิการการแรงงานผมจะต่อสู้เรื่องนี้อย่างเต็มที่ ผ่านเครือข่ายผู้บริโภค ขบวนการแรงงาน และพื้นที่รัฐสภาที่ผมมี
#สิทธิแรงงานคือสิทธิมนุษยชน
#ข้อบังคับบริษัทต้องไม่ขัดกับสิทธิมนุษยชน
#แรงงานทั้งผองคือพี่น้องกัน
#ต้องไม่มีใครต้องเสียงานเพราะจุดยืนทางการเมือง