ผมกินกาแฟกับ สมยศ พฤกษาเกษมสุข นักสู้เพื่อประชาธิปไตย ณ ที่เรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร
เช้าวันที่ 26 พฤษภาคม 2554 ผมนั่งอยู่ที่ม้านั่งหินใต้ต้นชงโคต้นใหญ่ หน้าห้องสมุดของแดนหนึ่ง ผมเป็นนักโทษใหม่ ผมไม่อยากพูดคุยกับใคร ผมนั่งนิ่งอยู่ในภวังค์ ผมมาติดคุกนี้ได้อย่างไร มันเกิดความผิดพลาดอะไรขึ้นกับชีวิตผม ผมไม่ได้สนใจกับเสียงพูดคุยที่หยาบคายของนักโทษ ที่ดังเจี๊ยวจ๊าวอยู่รอบๆข้างผม
มีนักโทษชายคนหนึ่ง เขาสูงขาว หน้าตาดี เขาเดินออกมาจากห้องสมุด และแนะนำตัวกับผมว่า เขาชื่อ สมยศ พฤกษาเกษมสุข ผมมองดูเขาแบบไม่แน่ใจ เพราะผมไม่รู้จักใครในเมืองไทยนัก แล้วเขาบอกกับผมว่า เขาถูกจับในคดีหมิ่นฯเช่นเดียวกับผม เขาเป็นพวกเดียวกับผม ไว้ใจเขาได้ ทำให้ผมสบายใจขึ้นมาหน่อยหนึ่ง ที่ยังมีคนถูกจับเข้าคุก ในคดีเช่นเดียวกับผม
สมยศ บอกผมว่า เขามีพรรคพวกอยู่ที่โรงเลี้ยง เขามีกาแฟกินตอนเช้านี้ แล้วเขาก็ชวนผมเดินตามเขาไปที่โรงเลี้ยง ชวนผมนั่งกินกาแฟสำเร็จรูป ผมถามเขาว่าได้กาแฟมาจากไหนกัน เขาบอกว่าที่ในคุกมีกาแฟสำเร็จรูปขาย หาซื้อมาผสมกินกันเองได้ แล้วคอยขอน้ำร้อนได้ในตอนเช้า บางที่ญาติและเพื่อนๆ ก็ซื้อมาฝากให้ตอนออกไปเยี่ยมญาติ หลังจากนั้น เราก็นั่งคุยกันเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับคดีหมิ่นเจ้า
วันนั้นจึงเป็นวันแรก ที่ผมได้พบและรู้จักกับ สมยศ พฤกษาเกษมสุข ผมยังมีเรื่องราวดีๆน่าสนใจ อีกมากมายที่ผมจะพูดถึงเขา แต่วันนี้ผมเพียงแต่อยากเกริ่นนำเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
ผมอยากจะบอกให้ทุกคนรับทราบว่า นักโทษคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ หรือมาตรา 112 ไม่ใช่บุคคลเลวร้ายอะไรเลย ทุกคนเป็นคนมีการศึกษา มีน้ำใจ ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ยามที่ตกทุกข์ได้ยาก มีใจรักความยุติธรรม และไม่สมควรที่จะต้องเอาตัวไปกักขังเยี่ยงสัตว์เดรัจฉาน หรืออยู่ร่วมกับนักโทษที่เป็นอาชญากร ฆาตกร และมิจฉาชีพทั้งหลาย
รัฐบาลไทย ศาลไทย ควรให้ความยุติธรรมแก่พวกเขา และควรปล่อยตัวพวกเขาออกจากคุก บุคคลเหล่านี้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่าในสังคม พวกเขาสามารถทำสิ่งที่ดีๆสร้างสรรค์ให้กับสังคม ควรให้พวกเขาออกมาช่วยกันพัฒนาชาติไทยให้ก้าวหน้าต่อไป
ยกเลิกไปเสียเถิดครับมาตรา 112 ไม่เป็นผลดีสำหรับใครทั้งสิ้น นอกจากพวกที่เห็นแก่ตัว แสวงหาผลประโยชน์กับมาตรานี้ ส่วนผู้ที่เสียหายมากที่สุดคือสถาบันกษัตริย์
สมยศ พฤกษาเกษมสุข ถูกตัดสินจำคุกทั้งสิ้น 11 ปี
oo
THU, 04/30/2015 - 12:11 JOM
Thai Voice Media
นายอนุรักษ์ เจนตวณิชย์ หรือ ฟอร์ด เส้นทางสีแดง ผู้ดำเนินกิจกรรมหารายได้ช่วยหลือ นักโทษทางการเมืองที่อยู่ในเรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ ให้สัมภาษณ์ Thaivoicemedia ในโอกาสครบรอบ 1 ปี รัฐบาล เกี่ยวกับ ชีวิตความเป็นอยู่ของนักโทษทางการเมืองในเรือนจำในขณะนี้ว่า นักโทษทางการเมืองที่อยู่ในเรือนจำขณะนี้ประมาณ 100 คน และเนื่องจากกรมราชทัณฑ์มีการเปลี่ยนแปลงกฎการเยี่ยมสำหรับคนทั่วไป เยี่ยมได้เฉพาะบุคคลที่ผู้ต้องขังให้ชื่อไว้กับผู้คุมไม่เกิน 10 คนเท่านั้น การเข้าเยี่ยมก็จะถูกตรวจสอบเข้มงวดกว่าที่ผ่านมา แต่ทุกคนกำลังใจดี สุขภาพมีปัญหาบ้างสำหรับผู้ต้องขังสูงอายุ แต่ได้รับการดูแลกันเองและทางเรือนจำเป็นอย่างดี และฝากสำหรับคนที่อยู่ข้างนอก ให้มีความอดทน และต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยต่อไป อย่าทิ้งกัน คนที่อยู่ในเรือนจำแม้จะขาดอิสรภาพแต่ก็ปลอดภัยกว่าคนที่อยู่ข้างนอก
ooo
ooo
Got to the following link to sign the petition:
...
Somyot Prueksakasemsuk, a pro-democracy and labour rights activist in Thailand, was detained four years ago on April 30, 2011, just days after he initiated a peaceful campaign to collect 10,000 signatures to seek a parliamentary review of Thailand’s draconian lèse-majesté law (Article 112 of the Thai Criminal Code), which has been used to undermine freedom of expression.
In January 2013, Somyot was convicted and sentenced by the Bangkok Criminal Court to 10 years’ imprisonment under Article 112. His conviction triggered an avalanche of condemnation and statements of concerns from the United Nations, the European Union, the United States, and numerous international, regional and domestic media outlets, human rights groups and trade unions.
In August 2012, the United Nations Working Group on Arbitrary Detention issued a decision declaring Somyot’s detention arbitrary and demanding his release. In April 2013, Somyot appealed against his conviction, which was subsequently upheld by the Court of Appeals in September 2013. The final appeal is pending before Thailand’s Supreme Court since November 2014.
The charges against Somyot stemmed from two satirical articles, written by someone else, in the now-defunct magazineVoice of Taksin (Voice of the Oppressed), of which Somyot was the editor. Article 112 of the Criminal Code stipulates that “Whoever defames, insults or threatens the King, Queen, the Heir-apparent or the Regent, shall be punished with imprisonment of three to fifteen years.”
Somyot’s campaign for free speech is now more relevant than ever in the face of increased use of the lèse-majesté law following the May 2014 military coup. According to human rights monitors, as of 10 April 2015, there are at least 63 individuals who have been investigated, detained, convicted, or are awaiting verdicts for alleged violation of the lèse-majesté law. Most of these cases were initiated after the last military coup. Thailand remains under the tight grip of a military junta known as the National Council for Peace and Order (NCPO), with no clear calendar for the full restoration of civilian and democratic rule.
By April 30, 2015, Somyot will have spent four years behind bar, during which all 16 of his bail applications were rejected. Somyot suffers from gout and hypertension and there are serious concerns that the medical treatment he is receiving at Bangkok Remand Prison is not adequate. During his incarceration, Sukanya Prueksakasemsuk has campaigned tirelessly for her husband’s release and was herself subjected to arbitrary detention at the hands of the Thai military following the coup in May 2014.
Thailand’s human rights situation has seriously deteriorated since the May 2014 coup. In its decision on Somyot’s final appeal, the Supreme Court of Thailand has an opportunity to reverse this repressive trend by upholding the basic rights to freedom of expression and liberty of the person.
The signatories of this petition urge the Supreme Court of Thailand to
1. Immediately release Somyot on bail; and
2. Expedite the appeal process, with a view to ensuring Somyot’s eventual unconditional release
นายสมยศ พฤกษาเกษมสุข นักกิจกรรมเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยและสิทธิแรงงานในประเทศไทย ถูกคุมขังเมื่อ 4 ปีที่แล้วในวันที่ 30 เมษายน ปีพ.ศ. 2554 เพียงไม่กี่วันหลังจากเขาจัดแคมเปญรวบรวมรายชื่อ 10 000 เพื่อรณรงค์เรียกร้องรัฐสภาให้มีการตรวจสอบกฏหมายหมิ่นพระบรทเดชานุภาพ หรือกฏหมายอาญามาตรา 112 ซึ่งถูกใช้ในการจำกัดเสรีภาพทางการแสดงออก
เดือนมกราคม ปีพ.ศ.2556 ณ ศาลอาญากรุงเทพฯ สมยศถูกตัดสินว่ากระทำผิดต่อมาตรา 112 จำคุก 10 ปี คำพิพากษาในครั้งนี้กระตุ้นให้เกิดกระแสการต่อต้านและก่อให้เกิดความกังวลจากองค์กรสหประชาชาติ สหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงสื่อทั้งในประเทศและต่างประเทศ องค์กรเพื่อสิทธิมนุษยชนต่างๆ และสหภาพแรงงานด้วย
เดือนสิงหาคม ปีพ.ศ.2555 คณะทำงานแห่งองค์กรสหประชาชาติเรียกร้องให้มีการปล่อยตัวสมยศ ในเดือนเมษายน 2556 สมยศทำเรื่องยื่นขออุทธรณ์ แต่ถูกศาลอุทธรณ์เลื่อนไปในเดือนกันยายนปีเดียวกัน
ข้อกล่าวหาสมยศมาที่มาจากบทความเสียดสีสองชิ้น ที่เขียนโดยบุคคลอื่น บทความเหล่านี้ถูกตีพิมพ์ในนิตยสารVoice of Taksin (ปัจจุบันไม่มีการเผยแพร่แล้ว) โดยสมยศเป็นบรรณาธิการของนิตยสาร Voice of Taksin นี้ กฏหมายอาญามาตรา 112 บัญญัติไว้ว่า "ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปีถึง 15 ปี"
แคมเปญเพื่อเสรีภาพในการพูดของสมยศปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับอัตราการเพิ่มขึ้นของการใช้กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพตั้งแต่การรัฐประหารเดือนพฤษภาคม ปีพ.ศ.2557 โดยคณะทหาร จากการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชน เมื่อวันที่ 10 เมษายน 58 มีบุคคลอย่างน้อย 63 รายถูกนำตัวไปไต่สวน กักกัน พิพากษา หรือรอคำตัดสินว่ากระทำผิดต่อกฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ กรณีส่วนใหญ่เริ่มต้นภายหลังการรัฐประหาร ประเทศไทยตกอยู่ภายใต้การปกครองอย่างเข้มงวดของรัฐบาลเผด็จการทหาร ในชื่อคณะรักษาความสงบสุขแห่งชาติ (คสช.) โดยไม่มีช่วงเวลาที่แน่ชัดว่าจะกลับคืนสู่ประชาธิปไตยของประชาชนเมื่อไร
ในวันที่ 30 เมษายน 58 นี้จะเป็นวันครบรอบ 4 ปีที่สมยศใช้ชีวิตอยู่หลังลูกกรง 4 ปีที่การยื่นขออุทธรณ์ 16 ครั้งถูกปฏิเสธ สมยศทนทุกข์ทรมานกับโรคประจำตัวซึ่งก็คือโรคเกาต์และความดันโลหิตสูง ทั้งการได้รับการรักษาในเรือนจำพิเศษกรุงเทพฯก็ไม่เพียงพอ ระหว่างการคุมขังของเขา สุกัญญา พฤกษาเกษมสุข ได้จัดแคมเปญรณรงค์อย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยเพื่อการปลดปล่อยสามีของเธอ และยังถูกเรียกไปปรับทัศนคติโดยกองทัพ หลังรัฐประหารเดือนพฤษภาคม 57
สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในไทยย่ำแย่ลงอย่างมีนัยยะสำคัญตั้งแต่เกิดการรัฐประหารเดือนพฤษภาคม 57 ในการการอุทธรณ์ครั้งสุดท้ายของสมยศ ศาลฎีกาของประเทศไทยมีโอกาสที่จะกลับมามีแนวโน้มลดทอนสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนที่จะมีเสรีภาพในการแสดงออกและเสรีภาพของบุคคล
การลงนามในคำร้องนี้ขอเรียกร้องให้ศาลฎีกาแห่งประเทศไทย
1. อนุญาตให้ประกันตัวสมยศในทันที และ
2. เร่งกระบวนการขออุทธรณ์ สร้างความมั่นใจในการปล่อยตัวสมยศอย่างไม่มีเงื่อนไข
Somyot Prueksakasemsuk, a pro-democracy and labour rights activist in Thailand, was detained four years ago on April 30, 2011, just days after he initiated a peaceful campaign to collect 10,000 signatures to seek a parliamentary review of Thailand’s draconian lèse-majesté law (Article 112 of the Thai Criminal Code), which has been used to undermine freedom of expression.
In January 2013, Somyot was convicted and sentenced by the Bangkok Criminal Court to 10 years’ imprisonment under Article 112. His conviction triggered an avalanche of condemnation and statements of concerns from the United Nations, the European Union, the United States, and numerous international, regional and domestic media outlets, human rights groups and trade unions.
In August 2012, the United Nations Working Group on Arbitrary Detention issued a decision declaring Somyot’s detention arbitrary and demanding his release. In April 2013, Somyot appealed against his conviction, which was subsequently upheld by the Court of Appeals in September 2013. The final appeal is pending before Thailand’s Supreme Court since November 2014.
The charges against Somyot stemmed from two satirical articles, written by someone else, in the now-defunct magazineVoice of Taksin (Voice of the Oppressed), of which Somyot was the editor. Article 112 of the Criminal Code stipulates that “Whoever defames, insults or threatens the King, Queen, the Heir-apparent or the Regent, shall be punished with imprisonment of three to fifteen years.”
Somyot’s campaign for free speech is now more relevant than ever in the face of increased use of the lèse-majesté law following the May 2014 military coup. According to human rights monitors, as of 10 April 2015, there are at least 63 individuals who have been investigated, detained, convicted, or are awaiting verdicts for alleged violation of the lèse-majesté law. Most of these cases were initiated after the last military coup. Thailand remains under the tight grip of a military junta known as the National Council for Peace and Order (NCPO), with no clear calendar for the full restoration of civilian and democratic rule.
By April 30, 2015, Somyot will have spent four years behind bar, during which all 16 of his bail applications were rejected. Somyot suffers from gout and hypertension and there are serious concerns that the medical treatment he is receiving at Bangkok Remand Prison is not adequate. During his incarceration, Sukanya Prueksakasemsuk has campaigned tirelessly for her husband’s release and was herself subjected to arbitrary detention at the hands of the Thai military following the coup in May 2014.
Thailand’s human rights situation has seriously deteriorated since the May 2014 coup. In its decision on Somyot’s final appeal, the Supreme Court of Thailand has an opportunity to reverse this repressive trend by upholding the basic rights to freedom of expression and liberty of the person.
The signatories of this petition urge the Supreme Court of Thailand to
1. Immediately release Somyot on bail; and
2. Expedite the appeal process, with a view to ensuring Somyot’s eventual unconditional release
นายสมยศ พฤกษาเกษมสุข นักกิจกรรมเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยและสิทธิแรงงานในประเทศไทย ถูกคุมขังเมื่อ 4 ปีที่แล้วในวันที่ 30 เมษายน ปีพ.ศ. 2554 เพียงไม่กี่วันหลังจากเขาจัดแคมเปญรวบรวมรายชื่อ 10 000 เพื่อรณรงค์เรียกร้องรัฐสภาให้มีการตรวจสอบกฏหมายหมิ่นพระบรทเดชานุภาพ หรือกฏหมายอาญามาตรา 112 ซึ่งถูกใช้ในการจำกัดเสรีภาพทางการแสดงออก
เดือนมกราคม ปีพ.ศ.2556 ณ ศาลอาญากรุงเทพฯ สมยศถูกตัดสินว่ากระทำผิดต่อมาตรา 112 จำคุก 10 ปี คำพิพากษาในครั้งนี้กระตุ้นให้เกิดกระแสการต่อต้านและก่อให้เกิดความกังวลจากองค์กรสหประชาชาติ สหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงสื่อทั้งในประเทศและต่างประเทศ องค์กรเพื่อสิทธิมนุษยชนต่างๆ และสหภาพแรงงานด้วย
เดือนสิงหาคม ปีพ.ศ.2555 คณะทำงานแห่งองค์กรสหประชาชาติเรียกร้องให้มีการปล่อยตัวสมยศ ในเดือนเมษายน 2556 สมยศทำเรื่องยื่นขออุทธรณ์ แต่ถูกศาลอุทธรณ์เลื่อนไปในเดือนกันยายนปีเดียวกัน
ข้อกล่าวหาสมยศมาที่มาจากบทความเสียดสีสองชิ้น ที่เขียนโดยบุคคลอื่น บทความเหล่านี้ถูกตีพิมพ์ในนิตยสารVoice of Taksin (ปัจจุบันไม่มีการเผยแพร่แล้ว) โดยสมยศเป็นบรรณาธิการของนิตยสาร Voice of Taksin นี้ กฏหมายอาญามาตรา 112 บัญญัติไว้ว่า "ผู้ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 3 ปีถึง 15 ปี"
แคมเปญเพื่อเสรีภาพในการพูดของสมยศปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับอัตราการเพิ่มขึ้นของการใช้กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพตั้งแต่การรัฐประหารเดือนพฤษภาคม ปีพ.ศ.2557 โดยคณะทหาร จากการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชน เมื่อวันที่ 10 เมษายน 58 มีบุคคลอย่างน้อย 63 รายถูกนำตัวไปไต่สวน กักกัน พิพากษา หรือรอคำตัดสินว่ากระทำผิดต่อกฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ กรณีส่วนใหญ่เริ่มต้นภายหลังการรัฐประหาร ประเทศไทยตกอยู่ภายใต้การปกครองอย่างเข้มงวดของรัฐบาลเผด็จการทหาร ในชื่อคณะรักษาความสงบสุขแห่งชาติ (คสช.) โดยไม่มีช่วงเวลาที่แน่ชัดว่าจะกลับคืนสู่ประชาธิปไตยของประชาชนเมื่อไร
ในวันที่ 30 เมษายน 58 นี้จะเป็นวันครบรอบ 4 ปีที่สมยศใช้ชีวิตอยู่หลังลูกกรง 4 ปีที่การยื่นขออุทธรณ์ 16 ครั้งถูกปฏิเสธ สมยศทนทุกข์ทรมานกับโรคประจำตัวซึ่งก็คือโรคเกาต์และความดันโลหิตสูง ทั้งการได้รับการรักษาในเรือนจำพิเศษกรุงเทพฯก็ไม่เพียงพอ ระหว่างการคุมขังของเขา สุกัญญา พฤกษาเกษมสุข ได้จัดแคมเปญรณรงค์อย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยเพื่อการปลดปล่อยสามีของเธอ และยังถูกเรียกไปปรับทัศนคติโดยกองทัพ หลังรัฐประหารเดือนพฤษภาคม 57
สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในไทยย่ำแย่ลงอย่างมีนัยยะสำคัญตั้งแต่เกิดการรัฐประหารเดือนพฤษภาคม 57 ในการการอุทธรณ์ครั้งสุดท้ายของสมยศ ศาลฎีกาของประเทศไทยมีโอกาสที่จะกลับมามีแนวโน้มลดทอนสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนที่จะมีเสรีภาพในการแสดงออกและเสรีภาพของบุคคล
การลงนามในคำร้องนี้ขอเรียกร้องให้ศาลฎีกาแห่งประเทศไทย
1. อนุญาตให้ประกันตัวสมยศในทันที และ
2. เร่งกระบวนการขออุทธรณ์ สร้างความมั่นใจในการปล่อยตัวสมยศอย่างไม่มีเงื่อนไข