บีบีซีไทย - BBC Thai
12h
มิจฉาชีพจีนสวมสัญชาติ "คนเป็น" ทำธุรกิจสีเทาในไทย
.
พล.ต.อ. ต่อศักดิ์ สุขวิมล เปิดเผยหลักฐานสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงการเข้ามาทำธุรกิจสีเทาของคนจีน โดยยกตัวอย่างกรณี นายเหยียน หลิง ผู้ต้องสงสัยชาวจีนรายล่าสุด ที่เชื่อาว่าเชื่อมโยงกับผับ “จินหลิง” จากการที่แฟนสาวของเขา ได้ขับรถไปเที่ยวที่ผับแห่งนี้
.
“เขาพูดภาษาไทยไม่ได้เลย” พล.ต.อ. ต่อศักดิ์ ระบุ “แต่เราเจอพาสปอร์ตกับบัตรประชาชนที่เป็นคนไทย... ตรวจสอบไปพบว่า คนไทยชื่อ (สงวนชื่อ) ยังมีตัวตน ยังไม่ตาย” พร้อมวิดีโอคอลกับคนไทยที่ถูกปลอมบัตรประชาชนด้วยชื่อตนเองสด ๆ ระหว่างการแถลงข่าว
.
นอกเหนือจากพาสปอร์ตสัญชาติไทย ตำรวจยังพบว่า นายเหยียน หลิง ถือพาสปอร์ตสัญชาติกัมพูชา มีประวัติเข้าออกกัมพูชา 25 ครั้ง เข้าออกมาเลเซีย 12 ครั้ง และมีความเชื่อมโยงกับบ่อนการพนัน “คิงโรมัน” ในสามเหลี่ยมทองคำ อีกด้วย ตอนนี้ กำลังตรวจสอบว่ามีความเชื่อมโยงกับแก๊งคอลเซ็นเตอร์หรือไม่
.
อ่านรายละเอียดปฏิบัติการของตำรวจ ได้ทางนี้ https://bbc.in/3h6sjOG
.....
Puangthong Pawakapan
16h
ยุทธศาสตร์ “Going out” ของรัฐบาลจีนที่สนับสนุนให้คนจีนไปลงทุน-ค้าขายในประเทศอื่น ด้านหนึ่งสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจให้กับจีนและประเทศปลายทาง แต่ในอีกด้านหนึ่ง ได้ส่งออกธุรกิจสีดำไปหลายประเทศ ในช่วงหลายปีมานี้ ธุรกิจสีดำของจีนเฟื่องฟูอย่างยิ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพราะรัฐบาลและเจ้าหน้าที่ของหลายประเทศไร้ธรรมาภิบาล กฎหมายหย่อนยาน ทุจริตกันทั่วทั้งระบบ ภูมิภาคนี้จึงเป็นพื้นที่พวกมาเฟียจีนนิยม “going out” เพราะทำมาหากินง่ายมาก
ในกรณีไทย ระบบที่ไร้ธรรมาภิบาลไม่ได้ส่งผลให้เกิดแก๊งมิจฉาชีพจีนที่โผล่มาให้เห็นมากมายเท่านั้น แต่ยังเกิดในระดับประเทศด้วย
ด้วยเหตุที่รัฐบาลจีนไม่เคยให้ความสำคัญกับประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชน ทำให้จีนได้ประโยชน์ตั้งแต่ปีแรกๆ หลังรัฐประหารของ คสช. ตัวอย่างหนึ่งที่ชัดเจนคือกรณีรัฐบาลประยุทธ์ยกสัมปทานรถไฟความเร็วสูงสายหนองคาย-กรุงเทพฯให้กับรัฐบาลจีนดำเนินการ ไม่เปิดให้นานาชาติเข้ามาร่วมประมูลแข่งขัน ด้วยการใช้อำนาจตามมาตรา 44 ของรธน.ชั่วคราว บวกด้วยการยกเว้นการบังคับใช้กฎหมายอีก 6 ฉบับกับโครงการนี้ โดยส่วนใหญ่เป็นกฎหมายที่มุ่งขจัดการทุจริตด้วย – จนป่านนี้ก็ยังไม่เสร็จ
เราไม่ลืม #วัคซีนซิโนแวค #เรือดำน้ำไร้เครื่องยนต์
.....
The Social Costs of Chinese Transnational Crime in Sihanoukville
Sokvy Rim
The Diplomat
05.07.2022
Since the inauguration of China’s Belt and Road Initiative (BRI) in 2013, the town of Sihanoukville, the location of Cambodia’s only deep-sea port, has received a massive influx of Chinese immigrants.
In 2013, there were around 80,000 Chinese nationals living in Cambodia. By 2019, that figure had jumped to 250,000. At the peak of the influx, 200,000 of these Chinese nationals lived in Sihanoukville. This increase has also been accompanied by an increase in crimes associated with the Chinese expatriate community in the coastal town, which has become the center of dozens of Chinese-run casinos.
A National Police report revealed that from January to March 2019, Chinese residents were implicated in 241 out of the 341 criminal cases involving foreigners. Between January and September of that year, 744 Chinese residents of Cambodia had been arrested and deported from the country.
Starting in early 2022, numerous reports have emerged about kidnapping, detention, and forced labor by Chinese gangs and criminal syndicates, who attract foreign nationals with promises of well-paying jobs, only to force them to conduct scam calls in prison-like conditions. In March, over 30 Indonesian nationals were rescued in Kandal province after being transferred there from Sihanoukville. In April, 66 Thai nationals were rescued from another gang. Despite around 3,000 Thais having been rescued by the police, it has been estimated by the Thai police that around 1,500 Thai workers are still trapped in Sihanoukville.
Get briefed on the story of the week, and developing stories to watch across the Asia-Pacific.
Most of the criminal enterprises in Sihanoukville relocated from mainland China after the Chinese government adopted a draconian national security law that sought to crack down on criminal syndicates and gangsters. With its weak law enforcement, Sihanoukville became a safe-haven in which these non-state actors could thrive.
.....
05.07.2022
Since the inauguration of China’s Belt and Road Initiative (BRI) in 2013, the town of Sihanoukville, the location of Cambodia’s only deep-sea port, has received a massive influx of Chinese immigrants.
In 2013, there were around 80,000 Chinese nationals living in Cambodia. By 2019, that figure had jumped to 250,000. At the peak of the influx, 200,000 of these Chinese nationals lived in Sihanoukville. This increase has also been accompanied by an increase in crimes associated with the Chinese expatriate community in the coastal town, which has become the center of dozens of Chinese-run casinos.
A National Police report revealed that from January to March 2019, Chinese residents were implicated in 241 out of the 341 criminal cases involving foreigners. Between January and September of that year, 744 Chinese residents of Cambodia had been arrested and deported from the country.
Starting in early 2022, numerous reports have emerged about kidnapping, detention, and forced labor by Chinese gangs and criminal syndicates, who attract foreign nationals with promises of well-paying jobs, only to force them to conduct scam calls in prison-like conditions. In March, over 30 Indonesian nationals were rescued in Kandal province after being transferred there from Sihanoukville. In April, 66 Thai nationals were rescued from another gang. Despite around 3,000 Thais having been rescued by the police, it has been estimated by the Thai police that around 1,500 Thai workers are still trapped in Sihanoukville.
Get briefed on the story of the week, and developing stories to watch across the Asia-Pacific.
Most of the criminal enterprises in Sihanoukville relocated from mainland China after the Chinese government adopted a draconian national security law that sought to crack down on criminal syndicates and gangsters. With its weak law enforcement, Sihanoukville became a safe-haven in which these non-state actors could thrive.
.....
Sa-nguan Khumrungroj
22h
#ตำหนวดหัวเขียงรู้หรือไม่ว่า
#มาเฟียจีนที่ว่าคือนักชกมวยไทยที่ชื่ออาหย่งแห่งค่ายพุ่มพันธุ์ม่วง
ตามที่ พล.ต.ท.จิรภพ ภูริเดช ผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (ผบช.ก.) แถลงผลการจับกุมนายหวง เทียนหยง หรือ อาหยง อายุ 33 ปี สัญชาติจีน ตามหมายจับศาลอาญาที่ 1112/2564 ลงวันที่ 8 ก.ค. 2564 ข้อหา “สมคบโดยตกลงกันตั้งแต่สองคนขึ้นไปเพื่อกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ฯ และ ร่วมกันตั้งแต่สามคนขึ้นไปหรือโดยสมาชิกองค์อาชญากรรมกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ด้วยการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากการบังคับใช้แรงงานฯ” หลังจับกุมตัวได้ที่ บริเวณลานจอดรถย่าน ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ
ชื่อที่ถูกต้องของเขาคือ "หวง เทียนหย่ง"(黃天勇)หรือ "อาหย่ง"(阿勇) ชาวเมืองฉวนโจว(泉州)มณฑลฝูเจี้ยน(福建) ชื่นชอบและชกมวยไทยมาตั้งแต่อายุ 16 ขวบ เป็น"คนจีนหัวใจมวยไทย" ที่สื่อกีฬาในไทยชื่นชมยกย่องเมื่อ 5 ปีที่แล้ว
เขาได้รู้จักกับ พ.ต.อ.สุขทัศน์ พุ่มพันธุ์ม่วง ผกก.สภ.พัทยา และ โปรโมเตอร์มวยขณะนั้น ซึ่งเป็นน้องชายของ “อ๊อด” สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง อดีต ผบ.ตร.และนายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย
ได้ร่วมกับสร้างค่ายมวย"อาหย่งยิม"(阿勇拳館) และต่อมาจดทะเบียนเป็น" เจียฟู พุ่มพันธ์ม่วง สปอร์ต ดีเวอร์ลอปเมนต์" เพื่อดึงดูดทัวร์จีนและชาวต่างชาติมาเรียนรู้ และร่วมแข่งขันทัวร์นาเมนต์ต่างต่างในไทย
นอกจากนี้ ยังเป็นเจ้าของค่ายมวยหลายแห่งในกัมพูชา เชียงใหม่และเกาะสมุย
23-25 สิงหาคม 2019
อาหย่งจัดแข่งขันมวยไทยแชมป์เปียนชิพครั้งแรกในมณฑลฟูเจี้ยน(2019年首屆福建省泰拳錦標賽) ณ เมืองเซี่ยเหมิน(廈門)
(สงวน คุ้มรุ่งโรจน์)