วันอาทิตย์, สิงหาคม 20, 2566

น่ากลัว ! นโยบายเครดิตสังคม ในยุทธศาสตร์ชาติ 20 เครื่องมือของรัฐในการสอดส่องพฤติกรรมประชาชน ไทยรับไอเดียร์มาจากจีน


Puangthong Pawakapan
Yesterday
·
เพิ่งรู้ว่ามันมีการให้คะแนนพฤติกรรมของประชาชนในนาม "เครดิตสังคม" ด้วย การทำความดีในประเทศนี้ก็คงไม่พ้นกรอบศีลธรรมของรัฐศักดินา
เฮ้ออออ
·
กานต์ร่วมอภิปรายยุทธศาสตร์ชาติ 20 และประเด็นเรื่อง “เครดิตสังคม” หรือ Social Credit
ระบบเครดิตสังคมเป็นระบบที่ประเมินให้คะแนนประชาชนในเรื่องที่รัฐเห็นว่าสำคัญ แล้วตั้งเกณฑ์คะแนนต่างๆ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้คนไทยหันมาทำความดี ผู้ใดทำความดีสะสมเครดิตเยอะ ก็จะได้ของรางวัลในรูปแบบของอภิสิทธิ์ในบางเรื่อง เช่น การได้รับส่วนลดบริการของรัฐ แต่ถ้าหากทำไม่ดีหรือมีพฤติกรรมในทางที่รัฐเห็นว่าเป็นทางลบ ก็จะมีการลงโทษผู้กระทำ เช่น การงดหรือละเว้นการให้สิทธิใช้บริการสาธารณะหรือไม่ได้รับการพิจารณาเลื่อนตำแหน่ง การให้เหตุผลของระบบนี้มีอยู่ว่า ต้องการเป็นแรงจูงใจให้คนหันมาทำความดี
คำถามของกานต์มีประเด็นอยู่ที่ทำไม ปยป. ถึงให้ความสำคัญและเลือกดำเนินการระบบเครดิตสังคมก่อน ทั้งที่มีเรื่องอื่นๆ ที่ต้องแก้ไข และตั้งคำถามถึงโครงการเครดิตสังคมในพื้นที่นำร่องที่พบรายงานว่าได้มีการพูดคุยเพื่อหาแนวทางในระยะแรกร่วมกับ 3 หน่วยงาน ได้แก่ กยศ. สภากาชาด และ สสส.
การมีเครดิตสังคมจะส่งผลต่อการให้ทุนหรือการสนับสนุนต่อคนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานเหล่านี้หรือไม่อย่างไร เพราะเป็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับคนไทยจำนวนมาก ในแผนไม่มีการนำเสนอผลการดำเนินงานหรือข้อสรุปใดใด แล้วจะเกิดอะไรขึ้นในอนาคตเมื่อใช้ระบบนี้กับทั้งสังคมไทย
กานต์ฝากคำถามไว้ว่า เครดิตสังคมเป็นสิ่งที่เหมาะสมแล้วจริงหรือ การปลูกฝังสร้างบรรทัดฐานให้สังคมผ่าน “ความดีย์” มิหนำซ้ำยังต้องให้ผู้มีอำนาจมาให้รางวัล “คนดี” หรือลงโทษ “คนไม่ดี” นั้นเหมาะสมหรือ
การกำหนดกรอบวิถีชีวิตของประชาชนให้ไปในทางที่รัฐกำหนดไว้เป็นการลิดรอนเสรีภาพในการแสดงออก และเป็นการก้าวล่วงเสรีภาพในการใช้ชีวิตของคนไทยหรือไม่
หรือแท้ที่จริงแล้ว เครดิตทางสังคมกำลังทำหน้าที่สร้างรัฐตำรวจที่ต้องสอดส่องพฤติกรรมของประชาชน ควบคุมความคิดเห็นและพฤติกรรม และไว้กำจัดคนเห็นต่าง?
สำหรับคลิปการอภิปรายเต็มๆ ย้อนหลัง กานต์จะโพสต์เป็นลำดับต่อไปค่ะ
#พรรคก้าวไกล
#กานต์ภัสริน
#บางซื่อดุสิต
...
Monsicha Ountrongjit
นโยบายเครดิตสังคมมีทีมาที่ไปอย่างไรหรอคะ ประเทศอื่นใช้กันบ้างไหม

Sharky Tontrakool
ลองไปอ่านเรื่องของ สวี เสี่ยวตง นักสู้ mma ที่ชอบไปเปิดโปงพวกนักสู้ลวงโลกจนโดน รบ จีนแบนโซเชียลเครดิต

Chatchaphong Thippayaworn
จีนครับ ใครที่รัฐบาลไม่พอใจก็ลด Social Credit ทำให้ใช้รถไฟไม่ได้ ใช้เครื่องบินไม่ได้ เช่าโรงแรมไม่ได้ สร้างความลำบากใาห้ชีวิต

จาก wikipedia
The initial blueprints of the Social Credit System was drafted in 2007 by government bodies.[11] The social credit system also attempts to solve the moral vacuum problem, insufficient market supervision and income inequality generated by the rapid economic and social changes since Chinese economic reform in 1978.[11] As a result of these problems, trust issues emerged in Chinese society such as food safety scandals, labor law violation, intellectual property theft and corruption.[11] The policy of the social credit system traces its origin from both policing and work management practices,[11] but the concept itself can trace as far back as the Warring States period to Shang Yang's Legalist meritocratic assessment and promotion system practiced by the imperial bureaucracy to improve the functioning of Chinese state.

The government of modern China has maintained systems of paper records on individuals and households such as the dàng'àn (档案) and hùkǒu (户口) which officials might refer to, but these systems do not provide the same degree and rapidity of feedback and consequences for Chinese citizens as the integrated electronic system because of the much greater difficulty of aggregating paper records for rapid, robust analysis.[5]

The Social Credit System also originated from grid-style social management, a policing strategy first implemented in select locations from 2001 and 2002 (during the administration of Chinese Communist Party general secretary Jiang Zemin) in specific locations across mainland China. In 2002, the Jiang administration proposed a social credit system as part of the promotion of a "unified, open, competitive, and orderly modern market system."[22] In its first phase, grid-style policing was a system for more effective communication between public security bureaus. Within a few years, the grid system was adapted for use in distributing social services. Grid management provided the authorities not only with greater situational awareness on the group level, but also enhanced the tracking and monitoring of individuals.[11][23] In 2018, sociologist Zhang Lifan explained that Chinese society today is still deficient in trust. People often expect to be cheated or to get in trouble even if they are innocent. He believes that it is due to the Cultural Revolution, where friends and family members were deliberately pitted against each other and millions of Chinese were killed. The stated purpose of the social credit system is to help Chinese people trust each other again.[23]