ความคิดเสียงดัง
1d
·
สักครั้งในชีวิต ก็ยังอยากได้เห็นภาพรัฐมนตรี ตามความสามารถแบบนี้ในไทย ทำให้ประชาชนบ้างไม่ได้หรือ? ใช้คนตามความสามารถ คนที่เหมาะกับงานจริงๆ ไม่ใช่ได้มาด้วยการแบ่งเค้ก ไม่ได้ยึดโยงศักยภาพอะไรเลย
ตุ๊ดส์review
·
สักครั้งในชีวิต ก็ยังอยากได้เห็นภาพรัฐมนตรี ตามความสามารถแบบนี้ในไทย ทำให้ประชาชนบ้างไม่ได้หรือ? ใช้คนตามความสามารถ คนที่เหมาะกับงานจริงๆ ไม่ใช่ได้มาด้วยการแบ่งเค้ก ไม่ได้ยึดโยงศักยภาพอะไรเลย
ตุ๊ดส์review
August 13
·
(repost) เคยหวัง #รัฐบาลก้าวไกล ภาพที่คิดไว้คือวางคนเหมาะกับงาน ตอนนี้เห็น #รัฐบาลเพื่อไทย หน้าตาคล้าย "ไทยรักไทย Reunion" มันก็ทำให้รู้ว่า ' #รัฐบาลสลายขั้ว คือการไหลกลับมารวมกัน ไม่ใช่การทำสิ่งใหม่ที่ดีกว่าให้ประชาชน' เห็นภาพแย่งเก้าอี้กันก่อนโหวตนายก ดูก็รู้ว่า super deal ไม่มีประชาชนเป็นที่ตั้ง มีแต่ผลประโยชน์ ส่วนความถนัด ศักยภาพ ความสามารถ ก็ตามที่เคยเป็นมาในหลาย 10 ปีที่เราเคยเห็นๆกัน
แบ่งเค้กเสร็จสรรพ ผลประโยชน์จัดเต็ม ไม่ได้ดูความถนัด ศักยภาพคนทำงานอะไรขนาดนั้น wow! การเมืองใหม่จัง
โชคดีนะคนไทย
================
PUT THE RIGHT MAN ON THE RIGHT JOB
เรียนรู้วิธีคิดจาก นายกแคนาดา และคณะรัฐมนตรี
- รัฐมนตรีสาธารณสุขเป็น “หมอ”
- รัฐมนตรีเกษตรเป็น “อดีตชาวนา”
- รัฐมนตรียุติธรรมเป็น “อดีตอัยการ”
- รัฐมนตรีเยาวชน มีอายุยังไม่ถึง 45 ปี
- รัฐมนตรีคมนาคมเป็น “นักบินอวกาศ”
- รัฐมนตรีบรรเทาสาธารณภัยเป็น “ลูกเสือ”
- รัฐมนตรีคลังเป็น “นักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ”
- รัฐมนตรีประมง และทรัพยากรทางทะเลเป็น “ชาวประมง”
- รัฐมนตรีกีฬา และผู้พิการเป็น “นักกีฬาพาราลิมปิกที่พิการ”
- รัฐมนตรีกระทรวงป้องกันประเทศเป็น “ทหารผ่านศึกชาวซิกซ์”
- รัฐมนตรีวิทยาศาสตร์เป็น “นักภูมิศาสตร์การแพทย์ จบปริญญาเอก”
- รัฐมนตรีด้านพัฒนานวัตกรรม และเศรษฐกิจเป็น “นักวิเคราะห์การเงิน”
- รัฐมนตรีตรวจคนเข้าเมือง สัญชาติ และผู้ลี้ภัยเป็น “นักวิจารณ์การย้ายถิ่นฐาน” / อดีตผู้อพยพจริง
*ให้พื้นที่สัดส่วนผู้หญิง 50% ในคณะรัฐมนตรี
เรื่องราวนี้ไม่ใช่เรื่องราวใหม่ครับ เป็นข้อมูลดีๆจาก Truth Inside of You ที่นำเสนอเกี่ยวกับโครงสร้างการจัดทัพคณะรัฐมนตรีแคนาดาของนายกคนนี้ ที่เป็นข่าวเมื่อปี 2561 เกี่ยวกับการจักตั้งคณะรัฐบาลของแคนาดา ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจมากๆเลยครับ
นายจัสติน ทรูโด ในวัย 40 กว่าๆ นายกรัฐมนตรีคนที่ 23 ของแคนาดา เปิดเผยรายชื่อคณะรัฐมนตรีที่จะเข้ามาทำงานร่วมกันกับเขา ประกอบด้วยผู้ชาย 15 คน และผู้หญิง 15 คน อายุเฉลี่ยอยู่ที่ 50 ปี ถือเป็นการเปิดประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของแคนาดาที่มีคณะรัฐมนตรีเท่ากันระหว่าง 2 เพศ (ที่มา : VOICETV)
ในกระทรวงต่าง ๆ ของแคนาดาจะคัดสรรผู้ที่จะมาทำหน้าที่รัฐมนตรีในกระทรวงต่าง ๆ โดยมีหลักการคือจะต้องมีความรู้ ความสามารถ หรือสถานะที่เหมาะสม และเข้าใจการทำงานในกระทรวงนั้น ๆ อย่างแท้จริง ยกตัวอย่างเช่น
- มาร์ค การ์โน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ซึ่งเป็นนักบินอวกาศคนแรกของแคนาดา มีความเชี่ยวชาญด้านการคมนาคมอย่างถ่องแท้
- ขณะที่นายอาห์เหม็ด ฮุสเซน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงตรวจคนเข้าเมืองผู้ลี้ภัย โดยมีทำหน้าที่หลัก ๆ คือการดูแลเรื่องผู้อพยพในแคนาดา ซึ่งปัจจัยสำคัญที่ทำให้เขาเข้ามาทำงานในกระทรวงนี้ได้เนื่องจากเขาเคยเป็น ‘ผู้อพยพ’ มาก่อน
- ‘เคนท์ เฮห์’ ซึ่งครั้งหนึ่ง เคยได้รับการเลือกให้เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการกีฬาและคนพิการของแคนาดาเมื่อเดือนสิงหาคม 2560 เนื่องจากเขาเป็นทหารผ่านศึก และเป็น ‘ผู้พิการ’ ที่เข้ามาทำหน้าที่ดูแลผู้พิการ ซึ่งแน่นอนว่าเขาย่อมเข้าใจความต้องการของผู้พิการอย่างแท้จริง (ที่มา : MTHAI)
-------
จากเรื่องราวข้างต้น คุณได้มองเห็นอะไรบ้าง?
1)
คนต้องใช่ตั้งแต่แรก
การบริหารที่ดี ควรมาจากคนที่เหมาะสม คนที่ดี และฉลาด ที่เข้าใจปัญหา มีประสบการณ์ตรง และมีความรู้ความสามารถ ที่เอื้อต่อการใชศักยภาพของตนให้ตรงกับงาน (PUT THE RIGHT MAN ON THE RIGHT JOB) ถ้าประเทศใช้ 'ผู้เชี่ยวชาญ' มาบริหารสาขาต่างๆ ที่สอดคล้องกับความรู้ทางวิชาชีพของเขา ย่อมมีผลต่อความเจริญก้าวหน้า และการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น อย่างเป็นที่ประจักษ์..."ผู้นำที่ใช่ จะไปสร้างทีมที่ดี"
2)
ทุกคนสำคัญและไม่ควรถูกทอดทิ้ง
ประเทศที่เล็งเห็นความสำคัญของ "ทรัพยากรมนุษย์" จะไม่หลงลืมใครเลย ไม่ว่าจะมิติทางเพศ คนพิการ คนลี้ภัย ชาวนา ชาวประมง และมันคือ "ทุกคน" เป็นคนสำคัญเสมอ อย่างเท่าเทียมกัน ไม่เคยถูกทอดทิ้งไป เพื่อปรับปรุงพัฒนาประเทศให้ดีขึ้นทุกๆด้าน
3)
ผู้นำที่ฉลาด จะมีทีมงานที่เก่ง
ความสำเร็จของ Leader ไม่ได้มาจากการที่เขาเก่ง แต่มาจากความฉลาดในการสร้างทีมงาน (Best Team, Best Players) การมีนักเตะที่ดี ทำให้เขามีโอกาสได้รับชัยชนะ อันหมายถึงการพัฒนาประเทศให้ประสบความสำเร็จ การเลือกคนเข้าทีม หรือการมีทีมที่ดีเป็นเรื่องสำคัญ เพราะไม่มีใครเก่งอยู่คนเดียว (one-man dominance) ผู้นำแบบยุคเก่า ที่เก๋า และเจ๋งโดดเด่นอยู่คนเดียว ไม่อาจจะพาประเทศชาติประสบความสำเร็จได้ เช่นเดียวกันกับองค์กร การโตเดี่ยวของใครคนหนึ่ง ไม่สามารถอุ้มองค์กรให้สำเร็จได้
4)
ทีมที่ดี มีแล้วอุ่นใจ
Team ที่ดีสร้างอะไรได้บ้าง? ... "ความไว้วางใจ และความเชื่อมัน" (Trust & Credibility) อย่างน้อย การเลือกคนไม่ผิดช่วยเรื่องภาพลักษณ์ และส่งเสริมกำลังใจของคนทำงานอย่างมาก ไปจนถึงคนที่อยู่ใต้บังคับบัญชา ถ้ามองเป็นประเทศชาติ ก็นับว่า สร้างความอุ่นใจให้กับประชาชน การได้คนเก่งมากประสบการณ์ Profile ดี ตรงกับงาน ทำให้เขารู้ว่า คนพวกนี้จะเข้าใจพวกเขาจริง เชื่อถือได้ ไม่ได้มามั่วๆ และมั่นใจว่า พวกเขาเก่งในงานที่เขาทำ ทำให้ลดการต่อต้านจากคนระดับล่างลงไปได้มาก เพราะเชื่อมือ เชื่อในตัวบุคคล
5)
ความขลังของอายุไม่สำคัญเท่าการเรียนรู้
จากการที่อายุเฉลี่ยของทีมรัฐมนตรีอยู่ที่วัย 50 ปี ถือว่า balance คนรุ่นใหม่ และรุ่นเก่าพอสมควร เราอาจมองการให้คุณค่าของทีมรัฐมนตรีแคนาดาได้ว่า พวกเขามอง "อายุ" สำคัญไม่เท่าประสบการณ์ และความคล่องตัวในการทำงาน ถ้าเรามองเห็นเพียงอายุว่าสำคัญ เราต้องเอาคนแก่ๆเท่านั้น นั่งแท่นบริหาร แต่ความเป็นจริง "การเรียนรู้บนอายุ" สำคัญกว่ามาก ถ้าแก่ แต่ไม่เจ๋ง ไม่เก๋า learning curve ของประสบการณ์ต่ำ เขาก็ใช้งานไม่ได้เต็มศักยภาพอยู่ดี แล้วการที่เอาคนสูงอายุมาทำงาน ต้องมองด้วยว่าเป็นวัยแห่งการพักผ่อนสำหรับเขาหรือไม่ ความคล่องตัว และว่องไวในการทำงาน ก็สำคัญไม่แพ้กันเลย จึงไม่ควรดูเพียงตัวเลขของอายุในการตัดสินคุณค่าของคน
6)
ทุกเพศ ทำให้ทีมกลมกล่อมในการทำงาน
การที่ทีม balance ชาย-หญิง หรือการผสมความหลากหลายทางเพศ สำคัญอย่างไร? ... มันช่วยให้วิธีคิดถูกทำให้กลมกล่อมในทัศนคติ และกลยุทธ์ มีความท้าทายแบบผู้ชาย แต่ก็ไม่ลืมที่จะอ่อนโยนแบบผู้หญิง หรือสร้างสรรค์แบบ LGBTQ+ ดังนั้น ยิ่งผสมเพศ งานที่มีความประณีตในการคิดที่คมคาย และรอบด้านมากขึ้น เพราะมันถูกทำให้เกิดสมดุลทางความคิด อารมณ์ความรู้สึก และความสร้างสรรค์ในงานอย่างสมบูรณ์ จึงควรมีทุกเพศในทุกๆตำแหน่งที่กระจายตัวอยู่อย่างเหมาะสม
7)
ประเทศไทย...ยังไกลมากกับคำว่า 'ผู้นำและทีมที่ดี'
ถ้าเราย้อนกลับมามองประเทศไทย ลองดู 6 ข้อข้างต้นดีๆ มันกำลังจะบอกอะไร? ... เรายังไม่มีทั้ง 6 ข้อดังกล่าว พวกเรายังต้อง "ปฏิรูประเทศ" อีกมาก (หรือแม้กระทั่งหลายองค์กรในประเทศ) ถ้าคุณจะพัฒนาชาติ หรือองค์กรจริงๆ ซ่อมอีกเยอะ
อีกไกล...Thailand
·
(repost) เคยหวัง #รัฐบาลก้าวไกล ภาพที่คิดไว้คือวางคนเหมาะกับงาน ตอนนี้เห็น #รัฐบาลเพื่อไทย หน้าตาคล้าย "ไทยรักไทย Reunion" มันก็ทำให้รู้ว่า ' #รัฐบาลสลายขั้ว คือการไหลกลับมารวมกัน ไม่ใช่การทำสิ่งใหม่ที่ดีกว่าให้ประชาชน' เห็นภาพแย่งเก้าอี้กันก่อนโหวตนายก ดูก็รู้ว่า super deal ไม่มีประชาชนเป็นที่ตั้ง มีแต่ผลประโยชน์ ส่วนความถนัด ศักยภาพ ความสามารถ ก็ตามที่เคยเป็นมาในหลาย 10 ปีที่เราเคยเห็นๆกัน
แบ่งเค้กเสร็จสรรพ ผลประโยชน์จัดเต็ม ไม่ได้ดูความถนัด ศักยภาพคนทำงานอะไรขนาดนั้น wow! การเมืองใหม่จัง
โชคดีนะคนไทย
================
PUT THE RIGHT MAN ON THE RIGHT JOB
เรียนรู้วิธีคิดจาก นายกแคนาดา และคณะรัฐมนตรี
- รัฐมนตรีสาธารณสุขเป็น “หมอ”
- รัฐมนตรีเกษตรเป็น “อดีตชาวนา”
- รัฐมนตรียุติธรรมเป็น “อดีตอัยการ”
- รัฐมนตรีเยาวชน มีอายุยังไม่ถึง 45 ปี
- รัฐมนตรีคมนาคมเป็น “นักบินอวกาศ”
- รัฐมนตรีบรรเทาสาธารณภัยเป็น “ลูกเสือ”
- รัฐมนตรีคลังเป็น “นักธุรกิจที่ประสบความสำเร็จ”
- รัฐมนตรีประมง และทรัพยากรทางทะเลเป็น “ชาวประมง”
- รัฐมนตรีกีฬา และผู้พิการเป็น “นักกีฬาพาราลิมปิกที่พิการ”
- รัฐมนตรีกระทรวงป้องกันประเทศเป็น “ทหารผ่านศึกชาวซิกซ์”
- รัฐมนตรีวิทยาศาสตร์เป็น “นักภูมิศาสตร์การแพทย์ จบปริญญาเอก”
- รัฐมนตรีด้านพัฒนานวัตกรรม และเศรษฐกิจเป็น “นักวิเคราะห์การเงิน”
- รัฐมนตรีตรวจคนเข้าเมือง สัญชาติ และผู้ลี้ภัยเป็น “นักวิจารณ์การย้ายถิ่นฐาน” / อดีตผู้อพยพจริง
*ให้พื้นที่สัดส่วนผู้หญิง 50% ในคณะรัฐมนตรี
เรื่องราวนี้ไม่ใช่เรื่องราวใหม่ครับ เป็นข้อมูลดีๆจาก Truth Inside of You ที่นำเสนอเกี่ยวกับโครงสร้างการจัดทัพคณะรัฐมนตรีแคนาดาของนายกคนนี้ ที่เป็นข่าวเมื่อปี 2561 เกี่ยวกับการจักตั้งคณะรัฐบาลของแคนาดา ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจมากๆเลยครับ
นายจัสติน ทรูโด ในวัย 40 กว่าๆ นายกรัฐมนตรีคนที่ 23 ของแคนาดา เปิดเผยรายชื่อคณะรัฐมนตรีที่จะเข้ามาทำงานร่วมกันกับเขา ประกอบด้วยผู้ชาย 15 คน และผู้หญิง 15 คน อายุเฉลี่ยอยู่ที่ 50 ปี ถือเป็นการเปิดประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของแคนาดาที่มีคณะรัฐมนตรีเท่ากันระหว่าง 2 เพศ (ที่มา : VOICETV)
ในกระทรวงต่าง ๆ ของแคนาดาจะคัดสรรผู้ที่จะมาทำหน้าที่รัฐมนตรีในกระทรวงต่าง ๆ โดยมีหลักการคือจะต้องมีความรู้ ความสามารถ หรือสถานะที่เหมาะสม และเข้าใจการทำงานในกระทรวงนั้น ๆ อย่างแท้จริง ยกตัวอย่างเช่น
- มาร์ค การ์โน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ซึ่งเป็นนักบินอวกาศคนแรกของแคนาดา มีความเชี่ยวชาญด้านการคมนาคมอย่างถ่องแท้
- ขณะที่นายอาห์เหม็ด ฮุสเซน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงตรวจคนเข้าเมืองผู้ลี้ภัย โดยมีทำหน้าที่หลัก ๆ คือการดูแลเรื่องผู้อพยพในแคนาดา ซึ่งปัจจัยสำคัญที่ทำให้เขาเข้ามาทำงานในกระทรวงนี้ได้เนื่องจากเขาเคยเป็น ‘ผู้อพยพ’ มาก่อน
- ‘เคนท์ เฮห์’ ซึ่งครั้งหนึ่ง เคยได้รับการเลือกให้เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการกีฬาและคนพิการของแคนาดาเมื่อเดือนสิงหาคม 2560 เนื่องจากเขาเป็นทหารผ่านศึก และเป็น ‘ผู้พิการ’ ที่เข้ามาทำหน้าที่ดูแลผู้พิการ ซึ่งแน่นอนว่าเขาย่อมเข้าใจความต้องการของผู้พิการอย่างแท้จริง (ที่มา : MTHAI)
-------
จากเรื่องราวข้างต้น คุณได้มองเห็นอะไรบ้าง?
1)
คนต้องใช่ตั้งแต่แรก
การบริหารที่ดี ควรมาจากคนที่เหมาะสม คนที่ดี และฉลาด ที่เข้าใจปัญหา มีประสบการณ์ตรง และมีความรู้ความสามารถ ที่เอื้อต่อการใชศักยภาพของตนให้ตรงกับงาน (PUT THE RIGHT MAN ON THE RIGHT JOB) ถ้าประเทศใช้ 'ผู้เชี่ยวชาญ' มาบริหารสาขาต่างๆ ที่สอดคล้องกับความรู้ทางวิชาชีพของเขา ย่อมมีผลต่อความเจริญก้าวหน้า และการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น อย่างเป็นที่ประจักษ์..."ผู้นำที่ใช่ จะไปสร้างทีมที่ดี"
2)
ทุกคนสำคัญและไม่ควรถูกทอดทิ้ง
ประเทศที่เล็งเห็นความสำคัญของ "ทรัพยากรมนุษย์" จะไม่หลงลืมใครเลย ไม่ว่าจะมิติทางเพศ คนพิการ คนลี้ภัย ชาวนา ชาวประมง และมันคือ "ทุกคน" เป็นคนสำคัญเสมอ อย่างเท่าเทียมกัน ไม่เคยถูกทอดทิ้งไป เพื่อปรับปรุงพัฒนาประเทศให้ดีขึ้นทุกๆด้าน
3)
ผู้นำที่ฉลาด จะมีทีมงานที่เก่ง
ความสำเร็จของ Leader ไม่ได้มาจากการที่เขาเก่ง แต่มาจากความฉลาดในการสร้างทีมงาน (Best Team, Best Players) การมีนักเตะที่ดี ทำให้เขามีโอกาสได้รับชัยชนะ อันหมายถึงการพัฒนาประเทศให้ประสบความสำเร็จ การเลือกคนเข้าทีม หรือการมีทีมที่ดีเป็นเรื่องสำคัญ เพราะไม่มีใครเก่งอยู่คนเดียว (one-man dominance) ผู้นำแบบยุคเก่า ที่เก๋า และเจ๋งโดดเด่นอยู่คนเดียว ไม่อาจจะพาประเทศชาติประสบความสำเร็จได้ เช่นเดียวกันกับองค์กร การโตเดี่ยวของใครคนหนึ่ง ไม่สามารถอุ้มองค์กรให้สำเร็จได้
4)
ทีมที่ดี มีแล้วอุ่นใจ
Team ที่ดีสร้างอะไรได้บ้าง? ... "ความไว้วางใจ และความเชื่อมัน" (Trust & Credibility) อย่างน้อย การเลือกคนไม่ผิดช่วยเรื่องภาพลักษณ์ และส่งเสริมกำลังใจของคนทำงานอย่างมาก ไปจนถึงคนที่อยู่ใต้บังคับบัญชา ถ้ามองเป็นประเทศชาติ ก็นับว่า สร้างความอุ่นใจให้กับประชาชน การได้คนเก่งมากประสบการณ์ Profile ดี ตรงกับงาน ทำให้เขารู้ว่า คนพวกนี้จะเข้าใจพวกเขาจริง เชื่อถือได้ ไม่ได้มามั่วๆ และมั่นใจว่า พวกเขาเก่งในงานที่เขาทำ ทำให้ลดการต่อต้านจากคนระดับล่างลงไปได้มาก เพราะเชื่อมือ เชื่อในตัวบุคคล
5)
ความขลังของอายุไม่สำคัญเท่าการเรียนรู้
จากการที่อายุเฉลี่ยของทีมรัฐมนตรีอยู่ที่วัย 50 ปี ถือว่า balance คนรุ่นใหม่ และรุ่นเก่าพอสมควร เราอาจมองการให้คุณค่าของทีมรัฐมนตรีแคนาดาได้ว่า พวกเขามอง "อายุ" สำคัญไม่เท่าประสบการณ์ และความคล่องตัวในการทำงาน ถ้าเรามองเห็นเพียงอายุว่าสำคัญ เราต้องเอาคนแก่ๆเท่านั้น นั่งแท่นบริหาร แต่ความเป็นจริง "การเรียนรู้บนอายุ" สำคัญกว่ามาก ถ้าแก่ แต่ไม่เจ๋ง ไม่เก๋า learning curve ของประสบการณ์ต่ำ เขาก็ใช้งานไม่ได้เต็มศักยภาพอยู่ดี แล้วการที่เอาคนสูงอายุมาทำงาน ต้องมองด้วยว่าเป็นวัยแห่งการพักผ่อนสำหรับเขาหรือไม่ ความคล่องตัว และว่องไวในการทำงาน ก็สำคัญไม่แพ้กันเลย จึงไม่ควรดูเพียงตัวเลขของอายุในการตัดสินคุณค่าของคน
6)
ทุกเพศ ทำให้ทีมกลมกล่อมในการทำงาน
การที่ทีม balance ชาย-หญิง หรือการผสมความหลากหลายทางเพศ สำคัญอย่างไร? ... มันช่วยให้วิธีคิดถูกทำให้กลมกล่อมในทัศนคติ และกลยุทธ์ มีความท้าทายแบบผู้ชาย แต่ก็ไม่ลืมที่จะอ่อนโยนแบบผู้หญิง หรือสร้างสรรค์แบบ LGBTQ+ ดังนั้น ยิ่งผสมเพศ งานที่มีความประณีตในการคิดที่คมคาย และรอบด้านมากขึ้น เพราะมันถูกทำให้เกิดสมดุลทางความคิด อารมณ์ความรู้สึก และความสร้างสรรค์ในงานอย่างสมบูรณ์ จึงควรมีทุกเพศในทุกๆตำแหน่งที่กระจายตัวอยู่อย่างเหมาะสม
7)
ประเทศไทย...ยังไกลมากกับคำว่า 'ผู้นำและทีมที่ดี'
ถ้าเราย้อนกลับมามองประเทศไทย ลองดู 6 ข้อข้างต้นดีๆ มันกำลังจะบอกอะไร? ... เรายังไม่มีทั้ง 6 ข้อดังกล่าว พวกเรายังต้อง "ปฏิรูประเทศ" อีกมาก (หรือแม้กระทั่งหลายองค์กรในประเทศ) ถ้าคุณจะพัฒนาชาติ หรือองค์กรจริงๆ ซ่อมอีกเยอะ
อีกไกล...Thailand
รู้จ้าาว่ามันเป็นการแบ่งผลประโยชน์ของนักการเมือง แต่ทางพรรคก็ควรเลือกคนที่มีความสามารถที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งที่ต้องบริหารหน่อย ไม่ใช่เอาใครมาเป็นก็ได้ ทำแบบนี้มันเหมือนไม่เห็นหัวประชาชน https://t.co/JjBmVpJdYB
— lll•ประวัติศาสตร์แนวเอียง•lll (@somsakjeam112) August 27, 2023
Thanapol Eawsakul
17h
·
การต่อรองตำแหน่งครม. ในพรรคร่วมรัฐบาลครั้งนี้เป็นการพลิกประวัติศาสตร์การต่อรองในทุกรัฐบาลที่ผ่านมา
เดิมทีการจัดสรรเก้าอี้ตำแหน่งรัฐมนตรีจะต้องเสร็จสิ้นก่อนการโหวตนายกรัฐมนตรี
เพราะใครก็รู้ว่าเมื่อโหวตนายกรัฐมนตรีเสร็จแล้ว อำนาจก็จะรวมศูนย์ไปที่นายกรัฐมนตรี
แต่การโหวต เศรษฐา ทวีสินในวันที่ 22 สิงหาคมที่ผ่านมากลับไม่เป็นเช่นนั้น
(การโหวตเศรษฐา เกิดขึ้นหลังจากทักษิณกลับมารับคำพิพากษาจำคุกเพียงไม่กี่ชั่วโมง)
จนถึงวันนี้การต่อรองเก้าอี้รัฐมนตรียังไม่เสร็จสิ้น
ทั้งๆที่อำนาจรวมศูนย์ไปที่นายกรัฐมนตรีแล้ว
เหตุก็เพราะว่า เศรษฐา ทวีสินไม่ใช่นายกรัฐมนตรีตัวจริง ที่จะตัดสินใจอะไรได้ด้วยตัวเอง
ทักษิณ ชินวัตรยังเป็นตัวประกันอยู่ในโรงพยาบาลตำรวจ
ถ้าเกิดว่าเศรษฐา ทวีสินหรือพรรคเพื่อไทยเบี้ยวหรือไม่ยอมตามการต่อรอง
ทักษิณก็จะต้องติดคุกหัวโต
หรือแม้กระทั่งยอมทุกกรณีก็ใช่ว่าทักษิณจะรอดคุก