วันเสาร์, พฤษภาคม 29, 2564

มีหมอแบบนี้ เมืองไทยไม่ต่างกับ"นรก" ถ้าบอกว่าวัคซีนทุกตัวมีประสิทธิภาพเท่ากัน แล้วอะไรคือเหตุผลที่เลือกซิโนฟาร์ม ทำไมไม่เลือกไฟเซอร์ โมเดินน่า หรือสปัตนิกวี


#ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ #ซิโนฟาร์ม #ราคาซิโนฟาร์ม
ศาสตราจารย์ นายแพทย์นิธิ มหานนท์ เลขาธิการราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์

May 28, 2021

ROOM44

ศาสตราจารย์ นายแพทย์นิธิ มหานนท์ เลขาธิการราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ระบุ วัคซีนทุกตัวมีประสิทธิภาพป้องกันโควิดได้ พร้อมยืนยัน ไม่รู้จักบริษัทที่มีเอกสารเสนอขายซิโนฟาร์มหลุดว่อนโซเชียล และไม่มีความเกี่ยวข้องกับวัคซีนของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
...
Kaiyang Somtum

ก็คงต้องถามว่าถ้าบอกว่าวัคซีนทุกตัวมีประสิทธิภาพเท่ากัน แล้วอะไรคือเหตุผลที่เลือกซิโนฟาร์มเหรอคะ ทำไมไม่เป็นไฟเซอร์ โมเดินน่า หรือสปัตนิกวี คะ



@joe_black317
·8h
คำถามเดิมๆที่ไม่เคยได้คำตอบ
ในเมื่อใช้เงินภาษีไปซื้อวัคซีนมาฉีดประชาชน ทำไมไม่เลือกซื้อหลายยี่ห้อ?
.....


WorkpointTODAY
Yesterday at 7:45 AM ·

วัคซีนซิโนฟาร์ม ได้รับความสนใจอย่างมาก หลังราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประกาศเตรียมชี้แจงการนำเข้า "ซิโนฟาร์ม" วัคซีนทางเลือก ซึ่งเตรียมแถลงร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขในวันที่ 28 พ.ค. นี้

workpointTODAY ได้รวมข้อมูลสำคัญเบื้องต้นเกี่ยวกับวัคซีนซิโนฟาร์มมาให้ โดยวัคซีนตัวนี้มีชื่อว่า BBIBP-CorV ผลิตโดย บริษัท ซิโนฟาร์ม (Sinopharm) เป็นวัคซีนชนิดเชื้อตาย จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุ ข้อบ่งใช้ว่าเหมาะสำหรับผู้ฉีดที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ฉีดจำนวน 2 โดส ห่างกัน 3 - 4 สัปดาห์ ส่วนในกลุ่มคนที่อายุมากกว่า 60 ปี ยังอยู่ระหว่างการจับตาเพราะยังมีการศึกษาในกลุ่มนี้จำนวนไม่มากนัก

มีรายงานว่า ซิโนฟาร์ม ถูกกระจายไปใช้ในกว่า 50 ประเทศ ในละตินอเมริกา เอเชีย แอฟริกา และยุโรป อาทิ ฮังการี อียิปต์ อินโดนีเซีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และโมร็อกโก เป็นต้น

การรับรอง
• 7 พ.ค. 2564 WHO รับรองใช้เป็นวัคซีนต้านโควิด
• อย.ไทย ได้รับเอกสารครบแล้ว อยู่ระหว่างพิจารณา

Sinopharm ในไทย
• ดำเนินการยื่นขอขึ้นทะเบียนโดย บริษัท ไบโอจีนีเทค จำกัด อยู่ระหว่างประเมินคำขอขึ้นทะเบียน อย.
• 26 พ.ค. 2564 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประกาศเตรียมชี้แจงการนำเข้าวัคซีนซิโนฟาร์ม

ประสิทธิภาพ
• ป้องกันการติดเชื้อแบบมีอาการ 79%
• ป้องกันการการนอนโรงพยาบาลได้ 79%
• ป้องกันความรุนแรงของโรคและการเสียชีวิต 100%
• WHO ยังไม่มีการยืนยันว่าป้องกันไวรัสกลายพันธุ์ได้หรือไม่
• ไม่มีรายงานว่าป้องกันการติดและแพร่เชื้อได้

ผลข้างเคียงจากการฉีด คือ ปวดบริเวณที่ฉีด ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย โดย WHO เคยรายงานอาการไม่พึงประสงค์ที่อาจเชื่อมโยงกับวัคซีนซิโนฟาร์ม คือ อาการคลื่นไส้ และความผิดปกติที่ระบบประสาทหรือโรคไข้สมองอักเสบเฉียบพลัน อย่างไรก็ตามข้อมูลยังมีอย่างจำกัดเนื่องจากยังอยู่ระหว่างการศึกษาวิจัย

ที่มา : องค์การอนามัยโลก (WHO) https://www.who.int/.../the-sinopharm-covid-19-vaccine...

#workpointTODAY
#สาระความรู้เพื่อวันนี้
ติดตาม workpointTODAY ทาง YouTube https://bit.ly/2YDfyiK 
.....

Sinopharm's two COVID-19 shots effective, study says

May 26, 2021
Reuters

Two COVID-19 vaccines from China's Sinopharm showed more than 70% efficacy against symptomatic cases, but it remains unclear how much protection they provide against severe or asymptomatic cases, according to the first detailed result of a large late-stage study published to the public.

A vaccine developed by a Wuhan-based subsidiary of Sinopharm was 72.8% effective against symptomatic COVID-19 at least two weeks after second injection, based on interim results, the peer-reviewed study published in the Journal of the American Medical Association showed on Wednesday.

This is slightly better than the 72.5% rate announced in a company statement in February.

Another vaccine developed by a Beijing-based institute linked to Sinopharm, which this month obtained emergency use approval by the World Health Organization (WHO), showed a 78.1% efficacy, the paper said.

The readings were based on calculations over 142 symptomatic cases in a trial involving more than 40,000 participants, with 26 injected with the Wuhan unit's vaccine and 21 with the Beijing unit's shot, it said.

"There were only 2 severe cases of COVID-19 among participants, so conclusions about prevention of severe cases cannot be made," the paper said.

"The study could not address the question of whether the... vaccines prevent against asymptomatic infection, which requires formal study-wide surveillance via virologic and serologic tests," it said.

The trial, conducted in countries including the United Arab Emirates and Bahrain, did not recruit pregnant women and people under 18, while data was insufficient for the elderly and those with chronic diseases, researchers said.

Data from other trial sties in Egypt and Jordan will be included in the final analysis, researchers said.