Thai man faces prison for doubting story about ancient king
By THE ASSOCIATED PRESS via ABC News
BANGKOK — Oct 9, 2017
An 85-year-old Thai social critic faces up to 15 years in prison for offending the monarchy after questioning whether a duel on elephant-back, fought more than 400 years ago by a Thai king against a Burmese adversary, ever took place.
Police escorted Sulak Sivaraksa to a Bangkok military court on Monday where he was officially charged with insulting the monarchy.
The case stems from remarks Sulak made in 2014 when he told a public forum to think critically about Thai history and questioned whether renowned monarch King Naraesuan had really won the Battle of Nong Sarai in 1593 by defeating a Burmese prince in solo combat, mounted on a war elephant.
Sulak, who walks with the aid of a cane, said he had no idea why the case was going ahead now, so long after his speech.
"Perhaps they don't like me because I never close my mouth," he said. "I speak the truth. I believe in the Quakers: speaking truth to power. I think it is my duty."
Lese majeste, as the offense of insulting the monarch is known, is punishable by three to 15 years in prison. The law only mentions the top members of the royal family, and doesn't appear to mention dead monarchs, but in practice the rules are often more widely interpreted.
Sulak's lawyer, Puangtip Boonsanong, said it was "up to each individual's interpretation" over whether dead kings were protected by the lese majeste law.
At least 93 cases of lese majeste involving 138 people have been prosecuted since Thailand's military seized power in 2014, according to the legal aid group Thai Lawyers for Human Rights. Rights groups say the government's actions are a way of silencing critics and cementing political control.
Puangtip said Sulak would fight the charges against him. He is scheduled for another meeting with prosecutors Dec. 7.
The development in the case comes little more than two weeks before the funeral of King Bhumibhol Adulyadej, who died a year ago.
The country is busy making preparations for what will be huge and elaborate national event, and pro-royalist feelings are at a height.
ooo
By THE ASSOCIATED PRESS via ABC News
BANGKOK — Oct 9, 2017
An 85-year-old Thai social critic faces up to 15 years in prison for offending the monarchy after questioning whether a duel on elephant-back, fought more than 400 years ago by a Thai king against a Burmese adversary, ever took place.
Police escorted Sulak Sivaraksa to a Bangkok military court on Monday where he was officially charged with insulting the monarchy.
The case stems from remarks Sulak made in 2014 when he told a public forum to think critically about Thai history and questioned whether renowned monarch King Naraesuan had really won the Battle of Nong Sarai in 1593 by defeating a Burmese prince in solo combat, mounted on a war elephant.
Sulak, who walks with the aid of a cane, said he had no idea why the case was going ahead now, so long after his speech.
"Perhaps they don't like me because I never close my mouth," he said. "I speak the truth. I believe in the Quakers: speaking truth to power. I think it is my duty."
Lese majeste, as the offense of insulting the monarch is known, is punishable by three to 15 years in prison. The law only mentions the top members of the royal family, and doesn't appear to mention dead monarchs, but in practice the rules are often more widely interpreted.
Sulak's lawyer, Puangtip Boonsanong, said it was "up to each individual's interpretation" over whether dead kings were protected by the lese majeste law.
At least 93 cases of lese majeste involving 138 people have been prosecuted since Thailand's military seized power in 2014, according to the legal aid group Thai Lawyers for Human Rights. Rights groups say the government's actions are a way of silencing critics and cementing political control.
Puangtip said Sulak would fight the charges against him. He is scheduled for another meeting with prosecutors Dec. 7.
The development in the case comes little more than two weeks before the funeral of King Bhumibhol Adulyadej, who died a year ago.
The country is busy making preparations for what will be huge and elaborate national event, and pro-royalist feelings are at a height.
ooo
ตร.มีความเห็นควรสั่งฟ้อง 'ส.ศิวรักษ์' ข้อหา ม.112 กรณีพูดพาดพิงพระนเรศวร
พนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งฟ้องคดี 'ส.ศิวรักษ์' ข้อหา ม.112 ปมกล่าวพาดพิงถึงสมเด็จพระนเรศวรและกรณียุทธหัตถี ส่งพนักงานอัยการศาลทหารพิจารณาคดีต่อ พร้อมนัดให้มาฟังคำสั่งวันที่ 7 ธ.ค.นี้
2017-10-09
ที่มา ประชาไท
9 ต.ค.2560 จากกรณี สุลักษณ์ ศิวรักษ์ หรือ ส.ศิวรักษ์ นักวิจารณ์การเมืองชื่อดัง ถูก พล.ท.ผดุง นิเวศวรรณ และ พล.ท.พิทยา วิมะลิน เข้าแจ้งความให้เจ้าพนักงาสอบสวน สน.ชนะสงคราม ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ความผิดฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เมื่อวันที่ 16 ต.ค.2557 จากรณีที่ สุลักษณ์ ได้ร่วมอภิปรายเรื่อง “ประวัติศาสตร์ว่าด้วยการชำระและการสร้าง” ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดโดยคณะสภาหน้าโดม เมื่อวันที่ 5 ต.ค. 2557 โดยกล่าวหาว่าในการอภิปรายดังกล่าวสุลักษณ์ได้กล่าวหมิ่นพระบรมเดชานุภาพอดีตพระมหากษัตริย์ คือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยกล่าวว่า การทรงกระทำยุทธหัตถีไม่มีจริง และมีอีกหลายถ้อยคำที่เข้าข่าย “หมิ่นเบื้องสูง”
พนักงานสอบสวนมีความเห็นควรสั่งฟ้องคดี 'ส.ศิวรักษ์' ข้อหา ม.112 ปมกล่าวพาดพิงถึงสมเด็จพระนเรศวรและกรณียุทธหัตถี ส่งพนักงานอัยการศาลทหารพิจารณาคดีต่อ พร้อมนัดให้มาฟังคำสั่งวันที่ 7 ธ.ค.นี้
2017-10-09
ที่มา ประชาไท
9 ต.ค.2560 จากกรณี สุลักษณ์ ศิวรักษ์ หรือ ส.ศิวรักษ์ นักวิจารณ์การเมืองชื่อดัง ถูก พล.ท.ผดุง นิเวศวรรณ และ พล.ท.พิทยา วิมะลิน เข้าแจ้งความให้เจ้าพนักงาสอบสวน สน.ชนะสงคราม ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ความผิดฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เมื่อวันที่ 16 ต.ค.2557 จากรณีที่ สุลักษณ์ ได้ร่วมอภิปรายเรื่อง “ประวัติศาสตร์ว่าด้วยการชำระและการสร้าง” ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดโดยคณะสภาหน้าโดม เมื่อวันที่ 5 ต.ค. 2557 โดยกล่าวหาว่าในการอภิปรายดังกล่าวสุลักษณ์ได้กล่าวหมิ่นพระบรมเดชานุภาพอดีตพระมหากษัตริย์ คือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยกล่าวว่า การทรงกระทำยุทธหัตถีไม่มีจริง และมีอีกหลายถ้อยคำที่เข้าข่าย “หมิ่นเบื้องสูง”
ล่าสุดวันนี้ (9 ต.ค.60) พวงทิพย์ บุญสนอง ทนายความของสุลักษณ์ เปิดเผยว่าวันนี้ พนักงานสอบสวนสรุปสำนวนคดีดังกล่าวเสร็จแล้ว และมีความเห็นควรสั่งฟ้อง จึงนำสำนวนพร้อมตัวสุลักษณ์ส่งพนักงานอัยการศาลทหารให้พิจารณาคดีต่อไป โดยหลังจากนี้จะอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของพนักงานอัยการ และนัดให้มาฟังคำสั่งวันที่ 7 ธ.ค.นี้ 10.00 น.
สำหรับสุลักษณ์ไม่กี่ปีที่ผ่านมาเคยถูกฟ้องด้วยคดี 112 สองครั้ง ข้อมูลจากเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลกฎหมายและคดีเสรีภาพโดยไอลอว์ ระบุว่า คดีแรกเกิดขึ้นจากกรณีเมื่อ 17 ธ.ค.47 สุลักษณ์ได้รับเชิญไปอภิปรายเรื่อง “สังคมไทยทางรอดที่ควรเลือก เหลียวหลังแลหน้าจากราชดำเนินถึงตากใบ” ที่คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ระหว่างการอภิปรายผู้ต้องหาได้ประชาสัมพันธ์หนังสือวารสาร Seeds of Peace ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม-เมษายน 2548 ซึ่งเป็นวารสารภาษาอังกฤษนำมาวางจำหน่ายหน้าห้องอภิปราย ในวารสารดังกล่าวมีบทความเรื่อง SIAM of the Forgotten Monarch: The True Life Sequel to the King and the Land of Smile ที่เขียนโดยผู้ใช้นามแฝงว่า บี.พี. มีเนื้อหากล่าวถึงการสวรรคตของรัชกาลที่ 8 เจ้าหน้าที่สำนักข่าวกรองแห่งชาติที่ไปฟังการเสวนาได้ซื้อวารสารมาอ่านพบบทความดังกล่าว จึงได้รายงานผู้บังคับบัญชาและแจ้งเรื่องให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติทราบ มีการตั้งคณะทำงานสอบสวน ผลการสอบสวนพบว่าวารสารฉบับดังกล่าวนี้มิได้มีการจดแจ้งต่อนายทะเบียนการพิมพ์กรุงเทพมหานคร และข้อความในวารสารเข้าข่ายหมิ่นมาตรา 112 จึงได้ร้องทุกข์ดำเนินคดีกับผู้ต้องหา ต่อมาอัยการสั่งไม่ฟ้องคดีนี้ เนื่องจากพิจารณาเห็นแล้วว่า จากคำให้การของพยานบุคคลจำนวนหลายคนที่อ่านบทความ แสดงความคิดเห็นไม่ยืนยันไปในทางเดียวกันว่า บทความดังกล่าวมีเนื้อหาเป็นการดูหมิ่นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประกอบกับไม่มีพยานยืนยันว่าผู้ต้องหาเป็นผู้เขียนบทความ เป็นเพียงผู้เสนอขายวารสารที่ปรากฎบทความเท่านั้นจึงรับฟังไม่ได้ว่าผู้ต้องหามีเจตนากระทำผิดตามข้อกล่าวหา
คดีที่สอง เกิดจากกรณีที่เมื่อวันที่ 11 ธ.ค.50 สุลักษณ์ได้กล่าวที่อาคารศาลาพระราชทานปริญญาบัตรหลังเก่า ภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ต่อมาวันที่ 6 พ.ย.51 พ.ต.อ.คัชชา ธาตุศาตร์ รอง.ผบก.ภ.จว.ขอนแก่น พร้อมกำลัง ได้จับกุมสุลักษณ์ ตามหมายจับศาลจังหวัดขอนแก่น เลขที่ 431 / 2551 ลงวันที่ 22 ก.ย.51 ในข้อหามาตรา 112 โดยบุกจับกุมที่บ้านพักในกรุงเทพฯ แล้วนำตัวไปจังหวัดขอนแก่น สุลักษณ์ได้ยื่นขอประกันตัว โดยมี กิตติบดี ซึ่งเป็นคณะบดีของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ใช้ตำแหน่งประกันตัว สุลักษณ์ ยังไม่ทราบความคืบหน้าของคดี
รายงานเสวนาภายใต้การ 'ขอความร่วมมือ': ประวัติศาสตร์ว่าด้วยการชำระและสร้าง