Nanthida Rakwong
@ThaiPolitica
1/7 หากใครสนใจเรื่องอำนาจสถาบันกษัตริย์อังกฤษ ซึ่งจริงๆแล้วไม่ใช่เพียงแค่ เป็น “สัญลักษณ์” แต่มีอำนาจทางการเมือง วัฒนธรรมและเศรษฐกิจอย่างมหาศาล เราแนะนำหนังสือเรื่อง “Running the Family Firm” ของ
@Laura__Clancy ค่ะ #ยกเลิกระบอบกษัตริย์
3/7 บท 2 วิเคราะห์ภาพลักษณ์ของสถาบันกษัตริย์ในสื่อที่มีการสร้างและจัดการอย่างเป็นระบบ ซึ่งแม้ว่าจะนำเสนอว่าสถาบันกษัตริย์จับต้องได้ แต่ยังต้องคงความลึกลับเอาไว้ #ยกเลิกระบอบกษัตริย์
— Nanthida Rakwong (@ThaiPolitica) July 31, 2022
5/7 บท 4 วิเคราะห์เมืองจำลอง Poundbury ของเจ้าฟ้าชายชาร์ล ซึ่งสะท้อนการปฏิเสธความคิดสมัยใหม่ และนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์ในความสัมพันธ์แบบลัทธิศักดินา การล่าอานานิคม และระบอบชนชั้น แต่ในขณะเดียวกันก็แสวงหาความร่ำรวยผ่านระบบทุนนิยม #ยกเลิกระบอบกษัตริย์
— Nanthida Rakwong (@ThaiPolitica) July 31, 2022
7/7 บท 7 วิเคราะห์บทบาทของเมแกนซึ่งถูกใช้ขยายตลาดความนิยมในระบบทุนนิยม เพื่อทำให้สถาบันกษัตริย์ที่สร้างมาจากการเหยียดเชื้อชาติ เพศสภาพและลัทธิล่าอาณานิคมดูทันสมัยขึ้น #ยกเลิกระบอบกษัตริย์
— Nanthida Rakwong (@ThaiPolitica) July 31, 2022
หมู่บ้าน Poudbury คือโปรเจ็คชุมชนที่สะท้อนแนวคิดของเจ้าฟ้าชายชาร์ลซึ่งตั้งอยู่บนระบอบศักดินา+ต่อต้านความทันสมัย ชาร์ลพยายามสร้างมายาคติว่า ชีวิตชนบทนั้นมั่นคง โดยลบประวัติศาสตร์การต่อสู้ของชาวนา “the Peasants Revolt” ในอังกฤษ(Running the Family Firm น.116-8) #ยกเลิกระบอบกษัตริย์
— Nanthida Rakwong (@ThaiPolitica) August 4, 2022
นอกจากชาร์ลและภูมิพล ในอดีต มารีอังตัวเนตแห่งฝรั่งเศส และกษัตริย์จอร์จที่ 4 แห่งอังกฤษก็เคยสร้างโครงการหมู่บ้านชนบทในวัง เพื่อตนเองจะได้สัมผัสและสมมุติการใช้ชีวิตแบบ “คนชนบท” โดยปราศจากความเข้าใจถึงความลำบากของชาวบ้านและความเหลื่อมล้ำทางสังคม #ยกเลิกระบอบกษัตริย์
— Nanthida Rakwong (@ThaiPolitica) August 4, 2022