Withdrawal Symptoms: Social andCultural Aspects of the October 6 Coup
by Ben Anderson
Excerpt:
Introduction
In themselves, military coups are nothing new in modern (or ancient) Thai history. There have been at least eight successful, and many more unsuccessful, coups since the one that overthrew the absolute monarchy in 1932. It is therefore not altogether surprising that some Western journalists and academics have depicted the events of October 6 1976 as "typical" of Thai politics, and even as a certain "return to normalcy" after three years of unsuitable flirtation with democracy. In fact, however, October 6 marks a clear turning point in Thai history for at least two quite different reasons. First, most of the important leaders of the legal left-wing opposition of 1973-1976, rather than languishing in jailor in exile like their historical predecessors, have joined the increasingly bold and successful maquis. Second, the coup was not a sudden intra-elite coup de main, but rather was the culmination of a two-year-Iong right-wing campaign of public intimidation, assault and assassination best symbolized by the orchestrated mob violence of October 6 itself.
Political murders by the ruling cliques have been a regular feature of modern Thai politics--whether under Marshal Phibunsongkhram's dictatorship in the late 1930s; under the Phibunsongkhram-Phao Siyanon-Sarit Thanarat triumvirate of the late 1940s and 1950s, or the Sarit Thanarat-Thanom Kittikachon-Praphat Charusathien regime of the 1960s and early 1970s.s But these murders, sometimes accompanies by torture, were typically "administrative" in character, carried out by the formal instrumentalities of the state, very often in secret. The public knew little of what had occurred, and certainly did not participate in any significant way. What is striking about the brutalities of the 1974-76 period is their nonadministrative, public, and even mob character. In August 1976, Bangkokians watched the hitherto inconceivable spectacle of the private home of Prime Minister Kukrit Pramote being sacked by a swarm of drunken policemen. In February, Socialist Party secretary-general Dr. Boonsanong Punyodana had been waylaid and assassinated outside his suburban home by professional gunmen. Hired hooligans increasingly displayed a quite "untraditional" style of violence, such as indiscriminate public bombings, that sharply contrasted with the discreet, precise murders of an earlier era. Ten innocent persons died when a grenade was thrown into the midst of a New Force party election rally in Chainat on March 25, 1976. And the gruesome lynchings of October 6 took place in the most public place in all Siam-Sanam Luang, the great downtown square before the old royal palace.
What I propose to do in this article is to explore the reasons for this new level and style of violence, for I believe that they are symptomatic of the present social, cultural and political crisis in Siam. My argument will be developed along two related lines, one dealing with class formation and the other with ideological upheaval.
The class structure of Thai society has changed rapidly since the late 1950s. Above all, new bourgeois strata have emerged, rather small and frail to be sure, but in significant respects outside of and partially antagonistic to the old feudal-bureaucratic upper class. These new strata-which include both a middle and a petty bourgeoisie-were spawned by the great Vietnam War boom of the 1960s when Americans and American capital poured into the country on a completely unprecedented scale (rapidly followed by the Japanese). It is these strata that provide the social base for a quasi-popular right-wing movement clearly different from the aristocratic and bureaucratic rightism of an earlier age. This is by no means to suggest that old ruling cliques of generals, bankers, bureaucrats, and royalty do not continue to hold the keys of real political power; rather, that these cliques have found themselves new, and possibly menacing, "popular" allies.
The ideological upheaval was also in large part due to the impact of American penetration, and manifested itself primarily in an intellectual revolution that exploded during the "democratic era" of 1973-76. Reacting to the intellectual nullity of and the crude manipulation of traditionalist symbols by the Sarit-Thanom-Praphat dictatorship, many young Thai came openly to question certain central elements of the old hegemonic culture. In response to this, there was an enormous increase in the self-consciou\ propagation and indoctrination of a militant ideology of Nation-Religion-King-as opposed to the bien-pensant "traditionalism" that reigned before. Rather than being seen generally as "naturally Thai," Nation-Religion-King became ever more explicitly the ideological clubs of highly specific social formations. The obvious audience for this self-conscious rightist ideologizing were the new bourgeois strata; the propagandists were both fanatical elements in these strata themselves and some shrewd manipulators in the ruling cliques.
To read more please go to:
https://docs.google.com/document/d/1aP866q6wlXlv3JROv2kKgE3d4A9YSMe8r3h9KUGAhko/edit
ooo
ส่วนหนึ่งจากบทนำ บ้านเมืองของเราลงแดงฯ (ในวาระ 40 ปี 6 ตุลา)
เบน แอนเดอร์สัน : เขียน
แปลโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ,ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ , เกษียร เตชะพีระ
อันการรัฐประหารโดยทหารนั้น ไม่ใช่ของใหม่ในประวัติศาสตร์ไทยสมัยปัจจุบัน ไทยสมัยปัจจุบัน (หรือสมัยโบราณก็ตามที) มีการทำรัฐประหารที่สำเร็จอย่างน้อยแปดครั้ง และที่ไม่สำเร็จอีกมากกว่านั้นนับตั้งแต่การรัฐประหารโค่นระบอบสมบูรณาญาสิทธิ์ในปี 2475 ฉะนั้นจึงไม่น่าแปลกเสียทีเดียวที่นักหนังสือพิมพ์และนักวิชาการตะวันตกบางคนได้บรรยายเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ว่าเป็น “แบบฉบับ” ของการเมืองไทย และกระทั่งเป็น “การกลับคืนสู่ภาวะปกติ” หลังใจแตกหลงระเริงไปกับประชาธิปไตยเสียสามปี
อย่างไรก็ตาม เอาเข้าจริงเหตุการณ์ 6 ตุลานับเป็นหัวเลี้ยวหัวต่อที่ชัดเจนในประวัติศาสตร์ไทยด้วยเหตุที่ต่างกันยิ่งอย่างน้อยสองประการ ประการแรก ผู้นำตัวเอ้ส่วนใหญ่ของกลุ่มปีกซ้ายถูกกฎหมายในช่วงปี 2516-2519 พากันเข้าป่าไปร่วมขบวนการต่อต้านซึ่งกำลังฮึกห้าวเหิมหาญและมีชัยยิ่งขึ้นทุกที แทนที่จะทนทรมานติดคุกติดตะรางหรือถูกเนรเทศเหมือนคนในประวัติศาสตร์รุ่นก่อน ประการที่สอง รัฐประหารครั้งนี้มิใช่ปฏิบัติการจู่โจมอย่างเฉียบพลันในหมู่ชนชั้นนำด้วยกันเอง หากเป็นจุดสุดยอดของขบวนการรณรงค์ข่มขู่ คุกคาม ทำร้าย และลอบสังหารอย่างเปิดเผยโจ่งแจ้งในที่สาธารณะตลอดสองปีโดยฝ่ายขวา ซึ่งปรากฏชัดแจ้งในรูปการประสานกันก่อม็อบสร้างความรุนแรงในเหตุการณ์ 6 ตุลานั่นเอง
ฆาตกรรมทางการเมืองด้วยน้ำมือกลุ่มปกครองเป็นรูปแบบปกติของการเมืองไทย ไม่ว่าจะเป็นสมัยที่อยู่ภายใต้เผด็จการจอมพล ป.พิบูลสงคราม...
- - -
ส่วนหนึ่งจากบทนำ บ้านเมืองของเราลงแดงฯ (ในวาระ 40 ปี 6 ตุลา)
เบน แอนเดอร์สัน : เขียน
แปลโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ,ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ , เกษียร เตชะพีระ
*วางจำหน่ายงานมหกรรมหนังสือ 13 ตุลาคม 2559 เป็นต้นไป
“เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา”
คราทีนั้น ฝูงสัตว์ ทั้งหลาย
จะเกิดความ อันตราย เป็นแม่นมั่น
ด้วยพระมหากษัตริย์
มิได้ทรงทศพิธ ราชธรรม์
จึงเกิดเข็ญ เป็น มหัศจรรย์ 16 ประการ
คือ เดือนดาวดินฟ้า จะอาเพท
อุบัติเหตุ เกิดทั่ว ทุกทิศาน
มหาเมฆ จะลุก เป็นเพลิงกาล
เกิดนิมิต พิสดาร ทุกบ้านเมือง
พระคงคา จะแดงเดือด ดั่งเลือดนก
อกแผ่นดิน เป็นบ้า ฟ้าจะเหลือง
ผีป่า ก็จะวิ่ง เข้าสิงเมือง
ผีเมืองนั้น จะออกไปสู่ไพร
พระเสื้อเมือง จะเอาตัวหนี
พระกาลกุลี จะเข้ามาเป็นไส้
พระธรณี จะตีอกไห้
อกพระกาล จะไหม้ อยู่เกรียมกรม
ในลักษณะทำนายไว้ บ่ห่อนผิด
เมื่อวินิศพิศดู ก็เห็นสม
มิใช่เทศกาล ร้อน ก็ร้อนระงม
มิใช่เทศกาล ลม ลมก็พัด
มิใช่เทศกาล หนาว ก็หนาวพ้น
มิใช่เทศกาล ฝน ฝนก็อุบัติ
ทุกต้นไม้ หย่อมหญ้า สารพัด
เกิดวิบัติ นานา ทั่วสากล
เทวดา ซึ่งรักษา พระศาสนา
จะรักษา แต่คน ฝ่ายอกุศล
สัปบุรุษ จะแพ้ แก่ทรชน
มิตรตน จะฆ่า ซึ่งความรัก
ภรรยา จะฆ่า ซึ่งคุณผัว
คนชั่ว จะมล้าง ผู้มีศักดิ์
ลูกศิษย์ จะสู้ ครูพัก
จะหาญหัก ผู้ใหญ่ ให้เป็นน้อย
ผู้มีศีล จะเสีย ซึ่งอำนาจ
นักปราชญ์ จะตก ต่ำต้อย
กระเบื้อง จะเฟื่อง ฟูลอย
น้ำเต้า อันลอยนั้น จะถอยจม
ผู้มีตระกูล จะสูญเผ่า
เพราะจัณฑาล มันเข้า มาเสพสม
ผู้มีศีลนั้น จะเสีย ซึ่งอารมณ์
เพราะสมัครสมาคม ซึ่งมารยา
พระมหากษัตริย์ จะเสื่อม สิงหนาท
ประเทศราช จะเสื่อม ซึ่งยศถา
อาสัจ จะเลื่อง ลือชา
พระธรรมา จะตก ลึกลับ
ผู้กล้า จะเสื่อม ใจหาญ
จะสาบสูญ วิชาการ ทั้งปวงสรรพ
ผู้มีสิน จะถอย จากทรัพย์
สัปบุรุษ จะอับ ซึ่งน้ำใจ
ทั้งอายุศม์ จะถอยเคลื่อน จากเดือนปี
ประเวณี จะแปรปรวน ตามวิสัย
ทั้งพืช แผ่นดิน จะผ่อนไป
ผลหมาก รากไม้ จะถอยรส
ทั้งแพทย์พรรณ ว่านยา ก็อาเพศ
เคยเป็นคุณ วิเศษ ก็เสื่อมหมด
จวงจันทน์ พรรณไม้ อันหอมรส
จะถอยถด ไปตาม ประเพณี
ทั้งข้าว ก็จะยาก หมากจะแพง
สารพัน จะแห้งแล้ง เป็นถ้วนถี่
จะบังเกิด ทรพิษ มิคสัญญี
ฝูงผี จะวิ่งเข้า ปลอมคน
กรุงประเทศ ราชธานี
จะเกิด การกุลี ทุกแห่งหน
จะอ้างว้าง อกใจ ทั้งไพร่พล
จะสาละวน ทั่วโลก หญิงชาย
จะร้อนอก สมณา ประชาราษฎร์
จะเกิดเข็ญ เป็นอุบาทว์ นั้นมากหลาย
จะรบรา ฆ่าฟันกัน วุ่นวาย
ฝูงคนจะล้มตาย ลงเป็นเบือ
ทางน้ำ ก็จะแห้ง เป็นทางบก
เวียงวัง จะรก เป็นป่าเสือ
แต่สิงห์สาระสัตว์ เนื้อเบื้อ
นั้นจะหลงเหลือ ในแผ่นดิน
ทั้งผู้คน สารพัด สัตว์ทั้งหลาย
จะสาบสูญ ล้มตาย เสียหมดสิ้น
ด้วยพระกาล จะมา ผลาญแผ่นดิน
จะสูญสิ้น การณรงค์ สงคราม
กรุงศรีอยุธยา จะสูญแล้ว
จะลับรัศมีแก้ว เจ้าทั้งสาม
ไปจนคำรบ ปี เดือน คืนยาม
จะสิ้นนามศักราช ห้าพัน
กรุงศรีอยุธยา เขษมสุข
แสนสนุก ยิ่งล้ำ เมืองสวรรค์
จะเป็นเมือง แพศยา อาธรรม์
นับวัน จะเสื่อมสูญ เอย
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ Charnvit Kasetsiri
Prophetic Lament for Sri Ayutthaya (c. 17th C.)
... And in those days all men and beasts
Shall surely be in mortal danger
"or when the Monarch shall betray
The Ten Virtues of the Throne
Calamity will strike, the omens
Sixteen monstrous apparitions:
Moon, stars, earth, sky shall lose their course
Misfortune shall spread everywhere
Pitch-black the thundercloud shall blaze
With Kali's fatal conflagration
Strange signs shall be observed throughout
The land, the Chao Phraya shall boil
Red as the heart's-blood ofa bird
Madness shall seize the Earth's wide breast
Yellow the color of the leadening sky
The forest spirits race to haunt
The city, while to the forest flee
The city spirits seeking refuge . ..
The enamel tile shall rise and float
The light gourd sink down to the depths.