Atukkit Sawangsuk
5 hours ago ·
MOU44
เอาบทความสุภลักษณ์มายันพวกกินเยี่ยวเล่าความเท็จ
ถ้าไทยยกเลิก MOU 44 จะเกิดอะไรขึ้นกับพื้นที่ทับซ้อนไทย - กัมพูชา
https://plus.thairath.co.th/topic/politics&society/104916
:
ข้อพิพาทเรื่องการอ้างสิทธิในไหล่ทวีป ระหว่างไทย กัมพูชา มีมาก่อน MOU 44 เกือบ 30 ปี
มีการเจรจากันครั้งแรก ปี 2513 แต่ไม่ได้ข้อตกลงอะไร
ปี 2515-2516 กัมพูชา-ไทย ต่างก็ลากเส้นแนวเขตไหล่ทวีปของตัวเอง เป็นคนละเส้น เกิดพื้นที่ทับซ้อน 26,000 ตารางกิโลเมตร
:
หลังพ้นสงคราม มีการเจรจากันอีกในปี 2535
ไทยเห็นว่าการกำหนดเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาไม่น่าจะถูกต้อง สนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส กำหนดว่าเกาะกูดเป็นของไทย
เส้นที่กัมพูชาลาก ไม่สอดคล้องกับความได้สัดส่วนด้านหน้าชายฝั่ง
แต่กัมพูชาไม่ยอม
ในการเจรจาปี 2538 ไทยเห็นว่าควรจะลากเส้นให้เป็นแนวเดียวกันคืออยู่ระหว่างเกาะกูดกับเกาะกง ซึ่งจะลดพื้นที่ทับซ้อนเหลือราว 5-6,000 ตารางกิโลเมตร แต่กัมพูชายืนกรานว่าเส้นไหล่ทวีปไม่สามารถต่อรองได้ ให้เจรจาเอาพื้นทับซ้อน 26,000 ตารางกิโลเมตรมาเป็นพื้นที่พัฒนาร่วมกันและแบ่งผลประโยชน์เท่าๆกัน
:
การเจรจามีต่อเนื่องมาทุกรัฐบาล จนถึงรัฐบาลทักษิณ
(คือไม่ใช่ทักษิณเข้ามาเป็นนายกฯ 2 เดือนแล้วรวบรัด เรื่องแบบนี้เจ้าหน้าที่เจรจามายืดเยื้อยาวนาน)
จึงประนีประนอมทำ MOU แบ่งพื้นที่เป็น 2 ส่วน เอาเส้นละติจูดที่ 11 เป็นเกณฑ์
"พื้นที่ด้านบนซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจอธิปไตยเหนือเกาะกูดและทะเลอาณาเขตนั้นให้เจรจาเพื่อแบ่งกันให้เบ็ดเสร็จเด็ดขาด"
"ส่วนพื้นที่ด้านล่างนั้นให้จัดทำระบอบพัฒนาร่วมเพื่อแบ่งปันผลประโยชน์และค่าใช้จ่ายจากการขุดเจาะและผลิตก๊าซและน้ำมันเหมือนอย่างที่ไทยและมาเลเซียเคยทำ"
นั่นหมายถึงว่าจะไม่ยอมให้เกิดการ "เสียดินแดน" ทั้งเกาะกูดและทะเลอาณาเขต
แต่พื้นที่ด้านล่างลงไป ที่ต่างคนต่างอ้าง ให้ทำประโยชน์ร่วมกัน
:
บางคนอาจมองว่าข้อตกลงนี้เสียเปรียบ (ซึ่งก็ยังไม่รู้ข้อเท็จจริง เรื่องนี้ควรถกกันในสภา ว่าไทยจะได้เปรียบเสียเปรียบอย่างไร)
แต่ถ้ายกเลิก MOU จะเป็นไง ก็เจรจาใหม่ ซึ่งไม่น่าจะยอมกันอีก
หรือไม่ก็ต้องไปฟ้องกัน อีก 20-30 ปี เป็นวรรคเป็นเวร ไม่ต้องทำประโยชน์อะไรเลย
.....
5 hours ago ·
MOU44
เอาบทความสุภลักษณ์มายันพวกกินเยี่ยวเล่าความเท็จ
ถ้าไทยยกเลิก MOU 44 จะเกิดอะไรขึ้นกับพื้นที่ทับซ้อนไทย - กัมพูชา
https://plus.thairath.co.th/topic/politics&society/104916
:
ข้อพิพาทเรื่องการอ้างสิทธิในไหล่ทวีป ระหว่างไทย กัมพูชา มีมาก่อน MOU 44 เกือบ 30 ปี
มีการเจรจากันครั้งแรก ปี 2513 แต่ไม่ได้ข้อตกลงอะไร
ปี 2515-2516 กัมพูชา-ไทย ต่างก็ลากเส้นแนวเขตไหล่ทวีปของตัวเอง เป็นคนละเส้น เกิดพื้นที่ทับซ้อน 26,000 ตารางกิโลเมตร
:
หลังพ้นสงคราม มีการเจรจากันอีกในปี 2535
ไทยเห็นว่าการกำหนดเขตไหล่ทวีปของกัมพูชาไม่น่าจะถูกต้อง สนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส กำหนดว่าเกาะกูดเป็นของไทย
เส้นที่กัมพูชาลาก ไม่สอดคล้องกับความได้สัดส่วนด้านหน้าชายฝั่ง
แต่กัมพูชาไม่ยอม
ในการเจรจาปี 2538 ไทยเห็นว่าควรจะลากเส้นให้เป็นแนวเดียวกันคืออยู่ระหว่างเกาะกูดกับเกาะกง ซึ่งจะลดพื้นที่ทับซ้อนเหลือราว 5-6,000 ตารางกิโลเมตร แต่กัมพูชายืนกรานว่าเส้นไหล่ทวีปไม่สามารถต่อรองได้ ให้เจรจาเอาพื้นทับซ้อน 26,000 ตารางกิโลเมตรมาเป็นพื้นที่พัฒนาร่วมกันและแบ่งผลประโยชน์เท่าๆกัน
:
การเจรจามีต่อเนื่องมาทุกรัฐบาล จนถึงรัฐบาลทักษิณ
(คือไม่ใช่ทักษิณเข้ามาเป็นนายกฯ 2 เดือนแล้วรวบรัด เรื่องแบบนี้เจ้าหน้าที่เจรจามายืดเยื้อยาวนาน)
จึงประนีประนอมทำ MOU แบ่งพื้นที่เป็น 2 ส่วน เอาเส้นละติจูดที่ 11 เป็นเกณฑ์
"พื้นที่ด้านบนซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจอธิปไตยเหนือเกาะกูดและทะเลอาณาเขตนั้นให้เจรจาเพื่อแบ่งกันให้เบ็ดเสร็จเด็ดขาด"
"ส่วนพื้นที่ด้านล่างนั้นให้จัดทำระบอบพัฒนาร่วมเพื่อแบ่งปันผลประโยชน์และค่าใช้จ่ายจากการขุดเจาะและผลิตก๊าซและน้ำมันเหมือนอย่างที่ไทยและมาเลเซียเคยทำ"
นั่นหมายถึงว่าจะไม่ยอมให้เกิดการ "เสียดินแดน" ทั้งเกาะกูดและทะเลอาณาเขต
แต่พื้นที่ด้านล่างลงไป ที่ต่างคนต่างอ้าง ให้ทำประโยชน์ร่วมกัน
:
บางคนอาจมองว่าข้อตกลงนี้เสียเปรียบ (ซึ่งก็ยังไม่รู้ข้อเท็จจริง เรื่องนี้ควรถกกันในสภา ว่าไทยจะได้เปรียบเสียเปรียบอย่างไร)
แต่ถ้ายกเลิก MOU จะเป็นไง ก็เจรจาใหม่ ซึ่งไม่น่าจะยอมกันอีก
หรือไม่ก็ต้องไปฟ้องกัน อีก 20-30 ปี เป็นวรรคเป็นเวร ไม่ต้องทำประโยชน์อะไรเลย
.....
https://www.facebook.com/photo/?fbid=8905400529541697&set=a.117209745027530