Kasian Tejapira
April 2 at 11:47 PM ·
ปติวัฒน์, สมยศ, ไผ่ แถลงในศาลหากได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว จะไม่พูดพาดพิงสถาบันกษัตริย์อีก
บีบีซีไทยนำคำแถลงของจำเลยที่ปรากฏในสื่อมวลชนและสื่อสังคมออนไลน์ไปตรวจสอบและได้รับคำยืนยันจากทนายความ 2 คน - นายกฤษฎางค์ นุตจรัส และนายวิบูลย์ บุญภัทรรักษา - ซึ่งอยู่ภายในห้องพิจารณา 704 ศาลอาญา ถ.รัชดาภิเษก ในวันดังกล่าว สรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้
นายปติวัฒน์ จำเลยที่ 3: "หากได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว จะไม่ยุ่งเกี่ยวกับการชุมนุมทางการเมืองและพูดพาดพิงสถาบันฯ อีกอย่างเด็ดขาด" แต่จะไปประกอบอาชีพร้องหมอลำเพื่อหาเลี้ยงชีพต่อไป และยินดีปฏิบัติตามเงื่อนไขในการปล่อยตัวชั่วคราวทุกประการ ไม่ว่าจะเป็นการติดเครื่องมือติดตามตัวอิเล็กทรอนิกส์ (EM), ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการชุมนุม และจะมาศาลตามนัดทุกนัด
นายสมยศ จำเลยที่ 4: "หากได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวจะไม่พูดพาดพิงเกี่ยวกับสถาบันฯ อีก จะไม่ยุ่งเกี่ยวกับเรื่องนี้ เพราะไม่ใช่แกนนำ" นอกจากนี้ยังบรรยายถึงอุปสรรคในการต่อสู้คดีระหว่างถูกคุมขังภายในเรือนจำทั้งที่คดียังไม่สิ้นสุด หากศาลยกฟ้อง พวกเขาก็ถือว่าติดคุกไปแล้ว หรือถ้าศาลตัดสิน พวกเขาก็ถูกจำคุกอยู่ดี จึง "ขอให้ตัดสินโทษประหารชีวิตผมเพื่อยุติปัญหาทั้งหมด และย่นระยะเวลาการพิจารณาคดีให้คนอื่นได้เร็วขึ้น" อีกทั้งประชาชนจะได้ไม่ต้องกังวลและออกมาต่อสู้เรียกร้องเพื่อให้ปล่อยตัวเขา ต้องปะทะกับเจ้าหน้าที่ตำรวจและบาดเจ็บ
นายจตุภัทร์ จำเลยที่ 7: "หากได้รับการปล่อยชั่วคราว จะไม่กล่าวถึงสถาบันฯ อีก"
Kasian Tejapira
April 2 at 11:49 PM ·
ปรากฏการณ์ใหม่ระหว่างต่อสู้คดีของ ๗ แกนนำราษฎร
1) ทนายอานนท์สวมชุดครุยทับชุดนักโทษ
2) เพนกวินยืนบนเก้าอี้-ชูสามนิ้วในศาล
3) ไผ่สาบานต่อ เช เกวารา และ มหาตมะ คานธี
.....
อ่านรายละเอียดเพิ่มจาก บีบีซีไทย
ราษฎร: จุดเปลี่ยนและปรากฏการณ์ใหม่ในระหว่างการต่อสู้คดีชุมนุม 19 กันยาฯ ของ 7 แกนนำราษฎร
บีบีซีไทย - BBC Thai
กระแสเรียกร้องสิทธิการประกันตัวของจำเลย ม.112 ลุกลามสู่การตั้งคำถามต่อการทำงานของศาล https://www.bbc.com/thai/thailand-56599766
Puangthong Pawakapan
5h ·
การไม่ให้ประกันคือหนึ่งในความชั่วร้ายของ ม.112 คือไม้เด็ดที่เขาไว้ใช้จัดการกับผู้ต้องหาคดี 112 เป็นการลงโทษก่อนจะถูกตัดสิน มีไว้สร้างความกลัว ทำให้เหยื่อยอมจำนน และพ่ายแพ้ในที่สุด
ถ้าศาลปฏิบัติกับผู้ต้องหาคดี ม.112 แบบเดียวกับคดีอื่นๆ คือยอมให้พวกเขาได้ประกันด้วยหลักการว่าบุคคลยังบริสุทธิ์ตราบเท่าที่เขายังไม่ถูกตัดสินว่าผิด รับรองว่าคดี 112 จะหมดความน่ากลัวไม่น้อยทีเดียว
ถ้ายอมให้ประกัน ผู้ถูกกล่าวหาจะไม่ยอมรับสารภาพง่าย ๆ คนจำนวนมากจะขอสู้คดีให้ถึงที่สุดจนถึง 3 ศาล ซึ่งผู้ถูกกล่าวหาส่วนใหญ่ในอดีตก็เริ่มต้นจากปฏิเสธทุกข้อกล่าวหาทั้งนั้น ยืนยันว่าสิ่งที่ตนเองทำไม่เข้าข่ายความผิด แต่ในท้ายที่สุด เมื่อไม่ได้รับประกันตน คดีถูกทำให้ยืดเยื้อยืดยาดยาวนานโดยไม่มีเหตุผล พวกเขามักยอมรับสารภาพ
ขณะเดียวกันเจ้าหน้าที่ก็พยายามเกลี้ยกล่อมให้รับสารภาพ ทำนอง “ถ้ารับสารภาพ ก็ได้ลดโทษครึ่งนึง แล้วพอวาระสำคัญก็ได้ลดโทษอีกเรื่อยๆ ติดจริงๆ ไม่กี่ปีหร๊อก ... แต่ถ้าสู้นะ ก็ยาว โดนเต็มๆ แล้วคดีแบบนี้ ไม่มีทางชนะหรอก ติดยาวแน่ๆ รับสารภาพเถอะ”
ยิ่งเจอคำวินิจฉัยวิปริตที่ว่า “ยิ่งจริง ยิ่งหมิ่น ไม่จริง ก็ยิ่งโคตรหมิ่น” คนธรรมดาจะเอาอะไรไปสู้กับอำนาจและกฎหมายบ้าๆ นี้ .... กฎหมายหมิ่นที่พูดความจริงก็ผิด มีที่ประเทศนี้ประเทศเดียวเท่านั้น
นี่คือการทรมาน บีบบังคับให้เหยื่อสารภาพโดยแท้จริง
การรับสารภาพไม่ได้มีความหมายแค่ตัวอักษรไม่กี่ตัว แต่คือชัยชนะของอำนาจรัฐ คือความพ่าย คือการยอมจำนนของผู้ถูกกล่าวหา ธงชัย วินิจจะกูล เรียกการบีบบังคับจนเหยื่อยอมจำนนนี้ว่า Winston Syndrome โดยเปรียบเทียบกับความพ่ายแพ้ Winston ตัวเอกในนวนิยาย 1984
ธงชัยชี้ว่าสำหรับวินสตันและผู้ต้องหา 112 การสารภาพในตัวมันเอง คือการทรมานอย่างหนึ่ง เพราะม.112 เป็นอาชญากรรมทางความคิด การทำลายความคิดอิสระจึงเป็นการทรมานยิ่งกว่าทรมานกาย หากไม่นับคนที่เป็นเหยื่อเพราะถูกกลั่นแกล้งแล้ว ผู้ต้องหา 112 ส่วนใหญ่คือคนที่มีความคิดเป็นตัวของตัวเอง เชื่อในความคิดอิสระ ปกป้องยืนยันความคิดอิสระของตนอย่างมั่นคง แม้ต้องเสี่ยงคุกเสี่ยงตารางก็ตาม อิสระทางความคิดเป็นเกียรติยศศักดิ์ศรีที่พวกเขาหวงแหน
ฉะนั้น การถูกบังคับให้สารภาพคือการทำร้ายจิตใจ ความภาคภูมิใจตนเองของพวกเขาอย่างย่อยยับ เป็นการทรมานยิ่งกว่าทางกาย
นี่คือความชั่วร้ายของมาตรา 112 และเหตุผลว่าทำไมเขาไม่ให้ประกันตน
#ปล่อยเพื่อนเรา
Puangthong Pawakapan
5h ·
การไม่ให้ประกันคือหนึ่งในความชั่วร้ายของ ม.112 คือไม้เด็ดที่เขาไว้ใช้จัดการกับผู้ต้องหาคดี 112 เป็นการลงโทษก่อนจะถูกตัดสิน มีไว้สร้างความกลัว ทำให้เหยื่อยอมจำนน และพ่ายแพ้ในที่สุด
ถ้าศาลปฏิบัติกับผู้ต้องหาคดี ม.112 แบบเดียวกับคดีอื่นๆ คือยอมให้พวกเขาได้ประกันด้วยหลักการว่าบุคคลยังบริสุทธิ์ตราบเท่าที่เขายังไม่ถูกตัดสินว่าผิด รับรองว่าคดี 112 จะหมดความน่ากลัวไม่น้อยทีเดียว
ถ้ายอมให้ประกัน ผู้ถูกกล่าวหาจะไม่ยอมรับสารภาพง่าย ๆ คนจำนวนมากจะขอสู้คดีให้ถึงที่สุดจนถึง 3 ศาล ซึ่งผู้ถูกกล่าวหาส่วนใหญ่ในอดีตก็เริ่มต้นจากปฏิเสธทุกข้อกล่าวหาทั้งนั้น ยืนยันว่าสิ่งที่ตนเองทำไม่เข้าข่ายความผิด แต่ในท้ายที่สุด เมื่อไม่ได้รับประกันตน คดีถูกทำให้ยืดเยื้อยืดยาดยาวนานโดยไม่มีเหตุผล พวกเขามักยอมรับสารภาพ
ขณะเดียวกันเจ้าหน้าที่ก็พยายามเกลี้ยกล่อมให้รับสารภาพ ทำนอง “ถ้ารับสารภาพ ก็ได้ลดโทษครึ่งนึง แล้วพอวาระสำคัญก็ได้ลดโทษอีกเรื่อยๆ ติดจริงๆ ไม่กี่ปีหร๊อก ... แต่ถ้าสู้นะ ก็ยาว โดนเต็มๆ แล้วคดีแบบนี้ ไม่มีทางชนะหรอก ติดยาวแน่ๆ รับสารภาพเถอะ”
ยิ่งเจอคำวินิจฉัยวิปริตที่ว่า “ยิ่งจริง ยิ่งหมิ่น ไม่จริง ก็ยิ่งโคตรหมิ่น” คนธรรมดาจะเอาอะไรไปสู้กับอำนาจและกฎหมายบ้าๆ นี้ .... กฎหมายหมิ่นที่พูดความจริงก็ผิด มีที่ประเทศนี้ประเทศเดียวเท่านั้น
นี่คือการทรมาน บีบบังคับให้เหยื่อสารภาพโดยแท้จริง
การรับสารภาพไม่ได้มีความหมายแค่ตัวอักษรไม่กี่ตัว แต่คือชัยชนะของอำนาจรัฐ คือความพ่าย คือการยอมจำนนของผู้ถูกกล่าวหา ธงชัย วินิจจะกูล เรียกการบีบบังคับจนเหยื่อยอมจำนนนี้ว่า Winston Syndrome โดยเปรียบเทียบกับความพ่ายแพ้ Winston ตัวเอกในนวนิยาย 1984
ธงชัยชี้ว่าสำหรับวินสตันและผู้ต้องหา 112 การสารภาพในตัวมันเอง คือการทรมานอย่างหนึ่ง เพราะม.112 เป็นอาชญากรรมทางความคิด การทำลายความคิดอิสระจึงเป็นการทรมานยิ่งกว่าทรมานกาย หากไม่นับคนที่เป็นเหยื่อเพราะถูกกลั่นแกล้งแล้ว ผู้ต้องหา 112 ส่วนใหญ่คือคนที่มีความคิดเป็นตัวของตัวเอง เชื่อในความคิดอิสระ ปกป้องยืนยันความคิดอิสระของตนอย่างมั่นคง แม้ต้องเสี่ยงคุกเสี่ยงตารางก็ตาม อิสระทางความคิดเป็นเกียรติยศศักดิ์ศรีที่พวกเขาหวงแหน
ฉะนั้น การถูกบังคับให้สารภาพคือการทำร้ายจิตใจ ความภาคภูมิใจตนเองของพวกเขาอย่างย่อยยับ เป็นการทรมานยิ่งกว่าทางกาย
นี่คือความชั่วร้ายของมาตรา 112 และเหตุผลว่าทำไมเขาไม่ให้ประกันตน
#ปล่อยเพื่อนเรา
April 2 at 11:47 PM ·
ปติวัฒน์, สมยศ, ไผ่ แถลงในศาลหากได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว จะไม่พูดพาดพิงสถาบันกษัตริย์อีก
บีบีซีไทยนำคำแถลงของจำเลยที่ปรากฏในสื่อมวลชนและสื่อสังคมออนไลน์ไปตรวจสอบและได้รับคำยืนยันจากทนายความ 2 คน - นายกฤษฎางค์ นุตจรัส และนายวิบูลย์ บุญภัทรรักษา - ซึ่งอยู่ภายในห้องพิจารณา 704 ศาลอาญา ถ.รัชดาภิเษก ในวันดังกล่าว สรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้
นายปติวัฒน์ จำเลยที่ 3: "หากได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว จะไม่ยุ่งเกี่ยวกับการชุมนุมทางการเมืองและพูดพาดพิงสถาบันฯ อีกอย่างเด็ดขาด" แต่จะไปประกอบอาชีพร้องหมอลำเพื่อหาเลี้ยงชีพต่อไป และยินดีปฏิบัติตามเงื่อนไขในการปล่อยตัวชั่วคราวทุกประการ ไม่ว่าจะเป็นการติดเครื่องมือติดตามตัวอิเล็กทรอนิกส์ (EM), ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการชุมนุม และจะมาศาลตามนัดทุกนัด
นายสมยศ จำเลยที่ 4: "หากได้รับการปล่อยตัวชั่วคราวจะไม่พูดพาดพิงเกี่ยวกับสถาบันฯ อีก จะไม่ยุ่งเกี่ยวกับเรื่องนี้ เพราะไม่ใช่แกนนำ" นอกจากนี้ยังบรรยายถึงอุปสรรคในการต่อสู้คดีระหว่างถูกคุมขังภายในเรือนจำทั้งที่คดียังไม่สิ้นสุด หากศาลยกฟ้อง พวกเขาก็ถือว่าติดคุกไปแล้ว หรือถ้าศาลตัดสิน พวกเขาก็ถูกจำคุกอยู่ดี จึง "ขอให้ตัดสินโทษประหารชีวิตผมเพื่อยุติปัญหาทั้งหมด และย่นระยะเวลาการพิจารณาคดีให้คนอื่นได้เร็วขึ้น" อีกทั้งประชาชนจะได้ไม่ต้องกังวลและออกมาต่อสู้เรียกร้องเพื่อให้ปล่อยตัวเขา ต้องปะทะกับเจ้าหน้าที่ตำรวจและบาดเจ็บ
นายจตุภัทร์ จำเลยที่ 7: "หากได้รับการปล่อยชั่วคราว จะไม่กล่าวถึงสถาบันฯ อีก"
Kasian Tejapira
April 2 at 11:49 PM ·
ปรากฏการณ์ใหม่ระหว่างต่อสู้คดีของ ๗ แกนนำราษฎร
1) ทนายอานนท์สวมชุดครุยทับชุดนักโทษ
2) เพนกวินยืนบนเก้าอี้-ชูสามนิ้วในศาล
3) ไผ่สาบานต่อ เช เกวารา และ มหาตมะ คานธี
.....
อ่านรายละเอียดเพิ่มจาก บีบีซีไทย
ราษฎร: จุดเปลี่ยนและปรากฏการณ์ใหม่ในระหว่างการต่อสู้คดีชุมนุม 19 กันยาฯ ของ 7 แกนนำราษฎร
บีบีซีไทย - BBC Thai
กระแสเรียกร้องสิทธิการประกันตัวของจำเลย ม.112 ลุกลามสู่การตั้งคำถามต่อการทำงานของศาล https://www.bbc.com/thai/thailand-56599766
...
Puangthong Pawakapan
5h ·
การไม่ให้ประกันคือหนึ่งในความชั่วร้ายของ ม.112 คือไม้เด็ดที่เขาไว้ใช้จัดการกับผู้ต้องหาคดี 112 เป็นการลงโทษก่อนจะถูกตัดสิน มีไว้สร้างความกลัว ทำให้เหยื่อยอมจำนน และพ่ายแพ้ในที่สุด
ถ้าศาลปฏิบัติกับผู้ต้องหาคดี ม.112 แบบเดียวกับคดีอื่นๆ คือยอมให้พวกเขาได้ประกันด้วยหลักการว่าบุคคลยังบริสุทธิ์ตราบเท่าที่เขายังไม่ถูกตัดสินว่าผิด รับรองว่าคดี 112 จะหมดความน่ากลัวไม่น้อยทีเดียว
ถ้ายอมให้ประกัน ผู้ถูกกล่าวหาจะไม่ยอมรับสารภาพง่าย ๆ คนจำนวนมากจะขอสู้คดีให้ถึงที่สุดจนถึง 3 ศาล ซึ่งผู้ถูกกล่าวหาส่วนใหญ่ในอดีตก็เริ่มต้นจากปฏิเสธทุกข้อกล่าวหาทั้งนั้น ยืนยันว่าสิ่งที่ตนเองทำไม่เข้าข่ายความผิด แต่ในท้ายที่สุด เมื่อไม่ได้รับประกันตน คดีถูกทำให้ยืดเยื้อยืดยาดยาวนานโดยไม่มีเหตุผล พวกเขามักยอมรับสารภาพ
ขณะเดียวกันเจ้าหน้าที่ก็พยายามเกลี้ยกล่อมให้รับสารภาพ ทำนอง “ถ้ารับสารภาพ ก็ได้ลดโทษครึ่งนึง แล้วพอวาระสำคัญก็ได้ลดโทษอีกเรื่อยๆ ติดจริงๆ ไม่กี่ปีหร๊อก ... แต่ถ้าสู้นะ ก็ยาว โดนเต็มๆ แล้วคดีแบบนี้ ไม่มีทางชนะหรอก ติดยาวแน่ๆ รับสารภาพเถอะ”
ยิ่งเจอคำวินิจฉัยวิปริตที่ว่า “ยิ่งจริง ยิ่งหมิ่น ไม่จริง ก็ยิ่งโคตรหมิ่น” คนธรรมดาจะเอาอะไรไปสู้กับอำนาจและกฎหมายบ้าๆ นี้ .... กฎหมายหมิ่นที่พูดความจริงก็ผิด มีที่ประเทศนี้ประเทศเดียวเท่านั้น
นี่คือการทรมาน บีบบังคับให้เหยื่อสารภาพโดยแท้จริง
การรับสารภาพไม่ได้มีความหมายแค่ตัวอักษรไม่กี่ตัว แต่คือชัยชนะของอำนาจรัฐ คือความพ่าย คือการยอมจำนนของผู้ถูกกล่าวหา ธงชัย วินิจจะกูล เรียกการบีบบังคับจนเหยื่อยอมจำนนนี้ว่า Winston Syndrome โดยเปรียบเทียบกับความพ่ายแพ้ Winston ตัวเอกในนวนิยาย 1984
ธงชัยชี้ว่าสำหรับวินสตันและผู้ต้องหา 112 การสารภาพในตัวมันเอง คือการทรมานอย่างหนึ่ง เพราะม.112 เป็นอาชญากรรมทางความคิด การทำลายความคิดอิสระจึงเป็นการทรมานยิ่งกว่าทรมานกาย หากไม่นับคนที่เป็นเหยื่อเพราะถูกกลั่นแกล้งแล้ว ผู้ต้องหา 112 ส่วนใหญ่คือคนที่มีความคิดเป็นตัวของตัวเอง เชื่อในความคิดอิสระ ปกป้องยืนยันความคิดอิสระของตนอย่างมั่นคง แม้ต้องเสี่ยงคุกเสี่ยงตารางก็ตาม อิสระทางความคิดเป็นเกียรติยศศักดิ์ศรีที่พวกเขาหวงแหน
ฉะนั้น การถูกบังคับให้สารภาพคือการทำร้ายจิตใจ ความภาคภูมิใจตนเองของพวกเขาอย่างย่อยยับ เป็นการทรมานยิ่งกว่าทางกาย
นี่คือความชั่วร้ายของมาตรา 112 และเหตุผลว่าทำไมเขาไม่ให้ประกันตน
#ปล่อยเพื่อนเรา
.....
Puangthong Pawakapan
5h ·
การไม่ให้ประกันคือหนึ่งในความชั่วร้ายของ ม.112 คือไม้เด็ดที่เขาไว้ใช้จัดการกับผู้ต้องหาคดี 112 เป็นการลงโทษก่อนจะถูกตัดสิน มีไว้สร้างความกลัว ทำให้เหยื่อยอมจำนน และพ่ายแพ้ในที่สุด
ถ้าศาลปฏิบัติกับผู้ต้องหาคดี ม.112 แบบเดียวกับคดีอื่นๆ คือยอมให้พวกเขาได้ประกันด้วยหลักการว่าบุคคลยังบริสุทธิ์ตราบเท่าที่เขายังไม่ถูกตัดสินว่าผิด รับรองว่าคดี 112 จะหมดความน่ากลัวไม่น้อยทีเดียว
ถ้ายอมให้ประกัน ผู้ถูกกล่าวหาจะไม่ยอมรับสารภาพง่าย ๆ คนจำนวนมากจะขอสู้คดีให้ถึงที่สุดจนถึง 3 ศาล ซึ่งผู้ถูกกล่าวหาส่วนใหญ่ในอดีตก็เริ่มต้นจากปฏิเสธทุกข้อกล่าวหาทั้งนั้น ยืนยันว่าสิ่งที่ตนเองทำไม่เข้าข่ายความผิด แต่ในท้ายที่สุด เมื่อไม่ได้รับประกันตน คดีถูกทำให้ยืดเยื้อยืดยาดยาวนานโดยไม่มีเหตุผล พวกเขามักยอมรับสารภาพ
ขณะเดียวกันเจ้าหน้าที่ก็พยายามเกลี้ยกล่อมให้รับสารภาพ ทำนอง “ถ้ารับสารภาพ ก็ได้ลดโทษครึ่งนึง แล้วพอวาระสำคัญก็ได้ลดโทษอีกเรื่อยๆ ติดจริงๆ ไม่กี่ปีหร๊อก ... แต่ถ้าสู้นะ ก็ยาว โดนเต็มๆ แล้วคดีแบบนี้ ไม่มีทางชนะหรอก ติดยาวแน่ๆ รับสารภาพเถอะ”
ยิ่งเจอคำวินิจฉัยวิปริตที่ว่า “ยิ่งจริง ยิ่งหมิ่น ไม่จริง ก็ยิ่งโคตรหมิ่น” คนธรรมดาจะเอาอะไรไปสู้กับอำนาจและกฎหมายบ้าๆ นี้ .... กฎหมายหมิ่นที่พูดความจริงก็ผิด มีที่ประเทศนี้ประเทศเดียวเท่านั้น
นี่คือการทรมาน บีบบังคับให้เหยื่อสารภาพโดยแท้จริง
การรับสารภาพไม่ได้มีความหมายแค่ตัวอักษรไม่กี่ตัว แต่คือชัยชนะของอำนาจรัฐ คือความพ่าย คือการยอมจำนนของผู้ถูกกล่าวหา ธงชัย วินิจจะกูล เรียกการบีบบังคับจนเหยื่อยอมจำนนนี้ว่า Winston Syndrome โดยเปรียบเทียบกับความพ่ายแพ้ Winston ตัวเอกในนวนิยาย 1984
ธงชัยชี้ว่าสำหรับวินสตันและผู้ต้องหา 112 การสารภาพในตัวมันเอง คือการทรมานอย่างหนึ่ง เพราะม.112 เป็นอาชญากรรมทางความคิด การทำลายความคิดอิสระจึงเป็นการทรมานยิ่งกว่าทรมานกาย หากไม่นับคนที่เป็นเหยื่อเพราะถูกกลั่นแกล้งแล้ว ผู้ต้องหา 112 ส่วนใหญ่คือคนที่มีความคิดเป็นตัวของตัวเอง เชื่อในความคิดอิสระ ปกป้องยืนยันความคิดอิสระของตนอย่างมั่นคง แม้ต้องเสี่ยงคุกเสี่ยงตารางก็ตาม อิสระทางความคิดเป็นเกียรติยศศักดิ์ศรีที่พวกเขาหวงแหน
ฉะนั้น การถูกบังคับให้สารภาพคือการทำร้ายจิตใจ ความภาคภูมิใจตนเองของพวกเขาอย่างย่อยยับ เป็นการทรมานยิ่งกว่าทางกาย
นี่คือความชั่วร้ายของมาตรา 112 และเหตุผลว่าทำไมเขาไม่ให้ประกันตน
#ปล่อยเพื่อนเรา