วันศุกร์, ธันวาคม 03, 2564

Thailand now at ‘high risk’ of mass killings: จากการจัดอันดับปท.ที่เสี่ยงต่อ การสังหารหมู่ ไทย เสี่ยงมากขึ้น เลื่อนจากอันดับ 49 ปีที่แล้ว เป็น 19 ผลการศึกษาของ Early Warning Project


Protesters outside the Grand Palace on Nov. 8, 2020. Photo: Chayanit Itthipongmaetee / Coconuts

Thailand is now at high risk of witnessing mass killings, according to conflict monitors.
.....
Pipob Udomittipong
17h ·

จากการจัดอันดับปท.ที่เสี่ยงต่อ #การสังหารหมู่ #ไทย เลื่อนขึ้นจากอันดับ 49 ปีที่แล้ว เป็น 19 และเป็นครั้งแรกที่ติดกลุ่ม 30 ปท.ที่เสี่ยงสูงสุดในโลกต่อการนองเลือด ภายหลังการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินอย่างต่อเนื่อง การจำกัดเสรีภาพในการชุมนุมที่เพิ่มขึ้น หลังการประท้วงเรียกร้องให้ #ปฏิรูปสถาบันกษัตริย์
เป็นผลการศึกษาของ Early Warning Project ส่วนหนึ่งของ U.S. Holocaust Museum ใช้ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยดูจากประวัติการสังหารหมู่ปชช.ที่เคยเกิดขึ้นในไทย ทั้งเหตุการณ์เดือนตุลา และพฤษภาทั้งปี 35 และ 53 ทางหน่วยงานทำหน้าที่ส่งสัญญาณเตือนเมื่อมีความเสี่ยงที่จะเกิดการสังหารหมู่ เขาบอกว่าทุกปีจะมีปท.ที่เกิดการสังหารหมู่ 1 หรือ 2 ปท. โดยเฉลี่ย ปท.แถวนี้ที่มีความเสี่ยงต่อการนองเลือดมากกว่าเราคือ เมียนมา ปท.เดียว
บอกตามตรง ทุกหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายตอนนี้ เร่งให้เกิดการนองเลือดทั้งนั้น
https://coconuts.co/.../thailand-now-at-high-risk-of.../


Thailand now at ‘high risk’ of mass killings: Early Warning Project

The kingdom moved up 23 spots to 19th of 162 countries studied for the likelihood that a massacre or genocide could occur by a U.S. group called the Early Warning Project.

“Our statistical model estimates that there is a 4.5%, or approximately 1 in 22, chance of a new mass killing beginning in Thailand in 2021 or 2022,” this week’s report read.

The project cited reduced freedom, a history of mass killing, and the presence of armed conflict, such as that between state security forces and southern insurgents, as major factors behind the huge shift. It also references the emergence of the most recent pro-democracy movement, whose historical predecessors have been victimized by state violence.

“In October 2020, the government instituted a ‘severe’ state of emergency in response to large-scale (mostly) student-led protests,” it reads. “Protesters were calling for an end to harassment of activists, abolition of Thailand’s parliament, constitutional reform, and reform of the powerful monarchy.”

Famous as a tourist haven worldwide, Thailand has a dark history of abduction, torture and killing of dissidents who challenge the political and royal establishment. Wanchalerm Satsaksit was one of a number of activists in exile who’ve gone missing – and is presumed dead – since he was abducted last year from his apartment in Phnom Penh. Before he vanished, he had posted a video clip criticizing Thai Prime Minister Prayuth Chan-ocha.

The Early Warning Project is operated by the U.S. Holocaust Museum. It said that, on average, one or two countries experience episodes of mass killing annually. It defines mass killings as 1,000 or more civilians deliberately killed within a year’s time due to their membership in a particular group.

“Virtually all cases of genocide include mass killings that meet this definition,” it said.

Thailand has a bloody history of quashing dissent with state-sanctioned violence. Popular movements calling for democracy were brutally suppressed in the ‘70s, ‘90s, and most recently in 2010. In 1976, pro-democracy campaigners and students were murdered in a state-backed massacre on the campus of Thammasat University.

Two spots higher in the risk assessment is Myanmar, where widespread unrest and armed resistance to military rule have fueled fears of civil war. The ten highest-risk countries were Pakistan, India, Yemen, Afghanistan, Congo, Guinea, Ethiopia, Nigeria, Sudan, and Chad.



The Early Warning Project has produced a global risk assessment every year since 2014. Those behind the project said they use quantitative and qualitative methods to “spotlight” countries where mass atrocities are at risk of occuring. They use publicly available data and forecasting methods to improve their early warning system.While mass killings are already happening and still going on in places ranging from South Sudan to Myanmar, the Early Warning Project said its other goal is to draw attention to countries at risk of new episodes such as Thailand.


โตโต้ ปิยรัฐ - Piyarat Chongthep
19h ·

#สวัสดีประชาชน
.
คนไทยต้องยอมรับกันเสียทีว่า ประเทศของเรายังด้อยพัฒนา และล้าหลังอยู่มาก โดยเฉพาะในเรื่องของสิทธิเสรีภาพของประชาชน ไม่ต่างอะไรกับเพื่อนบ้านเราที่ยังมีการกดขี่ข่มเหง รังแกประชาชน โดยการใช้กำลังตำรวจ ทหาร และรวมถึงการแทรกแซงกระบวนการศาลยุติธรรมจนไม่รู้สึกว่านั่นคือเรื่องผิดปกติ
.
เวลานี้เราเดินมาถึงจุดที่ยอมรับต่อชาวโลกอย่างไม่ละอายว่า ประเทศของเราได้มีนักโทษการเมือง ที่ถูกตีตราเป็นอาชญากรทางความคิด เพียงที่คิดต่างจากรัฐ และโทษร้ายแรงถึงขั้นล้มล้างการปกครอง
.
ทำให้คิดถึงบุคคลที่ชื่อว่า Nelson Mandela อดีตประธานาธิบดี แอฟริกาใต้ ที่เคยต้องโทษติดคุกยาวนานถึง 27 ปี จากผลพวงของการต่อสู้เพื่อสิทธิขั้นพื้นฐานของคนผิวสีต่อมหาอำนาจโลก
.
ในช่วงแรกเขาคือคนธรรมดาสามัญที่ใช้ปากเสียงอย่างสันติ แต่ก็ถูกกวาดล้าง จับกุม คุมขัง และสังหารพวกพ้องของเขาอย่างโหดร้ายจนในที่สุดก็ไม่เหลือทางเลือกอื่น นอกเสียจากจับอาวุธ เข้าประหารกัน
.
ดูเหมือนว่าการติดคุกยาวนานถึง 27 ปีของเขาจะเป็นการพ่ายแพ้ แต่ผลสุดท้ายอิสรภาพของเขาคือชัยชนะของประชาชนอย่างสง่างามในที่สุด เขาได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีของแอฟริกาใต้ ที่ถูกต้องชอบธรรมตามครรลองประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์
.
แต่นั้นก็นานเหลือเกินสำหรับความยุติธรรม ผมหวังว่าประเทศของเราคงไม่ถึงกับต้องจองจำนักโทษทางการเมืองยาวนานถึง 27 ปีเช่นดังแอฟริกาใต้ ประเทศของเรามีนักโทษทางการเมืองมาหลายยุคหลายสมัย และจำนวนมากเกินพอแล้ว ถึงเวลาที่เราทุกคนต้องช่วยกันปลดปล่อยพวกเขาให้ออกมาร่วมกันสร้างชาติ พัฒนาประเทศ ขจัดพวกคนพาลที่ฉ้อฉลกุมทรัพยากรไว้เอื้อแก่พวกพ้องตนเพียงฝ่ายเดียว
.
พลังสามัคคีของเราทุกคนเท่านั้นจึงจะเป็นพลังที่ยิ่งใหญ่ในการฝ่าฟันอุปสรรคเหล่านี้ไปได้
.
โตโต้ ปิยรัฐ จงเทพ
2/12/64