ไผท ภูธา
August 18, 2016
พ่อกำลังจะเดินทางไปตรวจราชการตามหน้าที่นายกรัฐมนตรี
วันนี้เป็นวันแรกที่ลูกชายนอนตื่นสาย แถมระหว่างทางไปสนามบิน มีรถติดกันแต่เช้า ทำให้รถของลูกชายฝ่าไปได้อย่างเชื่องช้า
และทำให้เวลาขึ้นเหิรฟ้าของเครื่องบินพานายกรัฐมนตรีไปราชการต้องเลื่อนไป ... เลื่อนเลยไปได้ 8 นาที ลูกชายก็ยังมาไม่ถึง... แล้วสิ่งที่ไม่คิดไม่ฝันก็เกิดขึ้น ... ก่อนที่ผู้โดยสาร จะขึ้นเครื่องไม่กี่นาที เครื่องบินลำนี้ก็เกิดระเบิดขึ้น กลางสนามบินดอนเมือง
หากลูกชาย ไปทันเวลา กำหนดขึ้นบินล่ะ ... 8 นาที หลังจากเหิรฟ้าจากรันเวย์ เครื่องบินก็คงจะกำลังเหิรอยู่เหนือมหานคร ไม่ห่างจากสนามบินดอนเมืองไม่เท่าใดนัก
แล้วคนไทยในละแวกนั้น ก็จะมองเห็นลูกไฟดวงใหญ่ส่องแสงฉานขึ้นบนท้องฟ้า ติดตามมาด้วยการระเบิดครั้งใหญ่ในไม่กี่วินาที เมื่อซากเครื่องบินระเบิดหล่นร่วงกระทบพื้นพสุธา....
ใครจะนึกจะฝันว่า การที่ลูกชายนายกรัฐมนตรีไปถึงเหลต... ช้า... นั้น มันได้ช่วยชีวิตพ่อ-ผู้เป็นนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีอีกหลายคนในหลายกระทรวงที่ร่วมคณะไป (และอ้ายบางตัวก็มาทำหน้าระรื่นอยู่ในรัฐบาลปัจจุบันนี้), ยังมีข้าราชการชั้นปลัดกระทรวง อธิบดีกรม อีกหลายท่าน, มีนักธุรกิจบางคน, มีข้าราชการการเมือง ฯลฯ รวมผู้ติดตามแบบครอบครัวอีกบางคน นับแล้ว ก็ไม่น่าจะน้อยกว่า 45 คน - - -
เวลาผ่านไปแล้วเนิ่นช้า 4 มีนา 2544 ถึงปีนี้ รวม 15 ปี ยังมีใครจำเรื่องราวอย่างนี้ได้บ้าง นี้รวมทั้งการโดนลอบสังหารครั้งอื่นๆ รวมกับครั้งนี้ด้วย เป็น 4 ครั้ง ยังตามหาตัวผู้ร้ายซึ่งยังเป็นเงาทะมึนอยู่นั่น ไม่ - -เจอ .... เชื่อไหมว่า ต่อให้ทั้งชาตินี้ ก็ไม่มีใครหาตัวผู้ร้ายลอบสังหารนายกรัฐมนตรีที่ประชาชนเลือกคนนั้นได้เจอ
แต่ - - - โลกนี้ไม่มีอะไรแน่นอน ... นั่นคือความจริงแท้ แน่นอน ความจริงแท้ถูกฟ้าลิขิต ว่า เวรกรรมนั้นมีจริง สักวันย่อมย้อนคืน !!!!
ใครสั่งฆ่า? ... วางระเบิดเครื่องบินทักษิณ 3 มีนาคม 2544 | Facebook
https://www.facebook.com/media/set/......
ไผทภูธา พุเฒ่าเซียนเต่า แขลดาวงศ์กสิกร
ไผท ภูธา
.....
MaysaHaway Home's albums
ใครสั่งฆ่า? ... วางระเบิดเครื่องบินทักษิณ 3 มีนาคม 2544
ใครสั่งฆ่า? ... วางระเบิดเครื่องบินทักษิณ 3 มีนาคม 2544 โพสต์13 ก.ย. 2553, 09:58โดยชาวดิน ออนเน็ต วันที่ 3 มีนาคม 2544 หลายคนยังจำกันได้ในสมัย "พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร" เป็นนายกรัฐมนตรี ในครั้งนั้นเป็นข่าว ครึกโครมไปทั่วประเทศและทั่วโลกเมื่อ เครื่องบินของสายการบินไทย ที่จอด เทียบท่าอยู่สนามบินดอนเมือง เพื่อรอรับผู้โดยสารบินไปยังจังหวัดเชียงใหม่ โดยหนึ่งในผู้โดยสาร ในเที่ยวบินดังกล่าว ก็มีผู้นำของประเทศ "พ.ต. ต.ทักษิณ" ก่อนที่ผู้โดยสาร ขึ้นเครื่องไม่กี่นาที เครื่องบินลำดังกล่าวเกิดระเบิดขึ้น กลางสนามบินดอนเมือง สร้างความแตกตื่นให้กับผู้คน จำนวนมาก โชคดีของผู้โดยสารที่ยังไม่มีใครขึ้นบนเครื่องบิน จึงไม่มีใครสังเวยชีวิตในครั้งนั้น แต่ก็เป็นที่กังขาของหลายฝ่ายว่าระเบิดเครื่องบินไทยครั้งนั้นเกิดจากเหตุอะไรกันแน่ ลอบวางระเบิดนายกฯ..? วินาศกรรม..? ความประมาท..? อุบัติเหตุ..? จนวันนี้คำถามเหล่านี้ก็ยังไม่ได้รับความชัดเจน 24 ชั่วโมงของทักษิณ : บทที่ 1 เสียงโทรศัพท์ยามรุ่งอรุณ (ตอนที่1) นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่ ทักษิณเอาชีวิตรอดมาได้ ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 5 มีนาคม2544 เมื่อเขาได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพียง 25 วัน เขาก็ได้รับรู้รสชาติของการถูกลอบสังหารในวันนั้น เครื่องบินโบอิ้ง 747 ลำหนึ่งของการบินไทยซึ่งบรรทุกผู้โดยสารจำนวน 129 คน เดินทางจากกรุงเทพฯ ไป ยังจังหวัดเชียงใหม่ผู้โดยสารบนเครื่องซึ่งรวมทั้งทักษิณที่เพิ่งได้รับ ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีพร้อมด้วย ลูกชายรวมทั้งข้าราชการจำนวน 20 คนเตรียมพร้อมขึ้นเครื่องวินาทีที่เครื่องบินเตรียมทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้า นั้นที่นั่งชั้นหนึ่งหมายเลข 11A ที่เขาได้จองไว้เกิดระเบิดขึ้นกะทันหัน ผู้โดยสารที่อยู่บริเวณรอบๆที่นั่งนั้น ได้รับบาดเจ็บจำนวนมากแต่ที่โชคดีก็คือ ที่นั่งนี้ไม่มีใครนั่งอยู่ในตอนนั้น ทักษิณผู้ซึ่งตรงต่อเวลามาโดย ตลอดตัดสินใจที่จะรอลูกชายซึ่งก็คือ นายพาน ทองแท้ ที่มาถึงช้า วันนั้นลูกชายก็ไม่ทราบสาเหตุ ว่า ทำไมถึงมาช้า 25 นาที แต่ในที่สุดก็ได้ช่วยชีวิตพ่อของตนไว้ได้ ดาวโหลดไฟล์ข้อมูลการระเบิด http://www.karoon-saingam.net/violence_thaksin.pdf โบอิ้ง 737-400 เวอร์ชั่น 1 (734) 9 ลำ ที่นั่ง ชั้นธุรกิจ จัดแบบ 2-2 จำนวน 12 ที่ นั่ง , ชั้นประหยัด จัดแบบ 3-3 จำนวน 137 ที่นั่ง รวมทั้งหมดจำนวน 149 ที่นั่ง เจ้าหน้าที่กองพิสูจน์หลักฐาน กองสรรพาวุธ สถาบันนิติเวชวิทยา พนักงานสอบสวนกองบังคับ การตำรวจนครบาล 2 สำนักงาน ตำรวจแห่งชาติ(สตช.) และแผนกทำลายวัตถุระเบิด กรมสรรพาวุธ ทหารอากาศได้นำเขม่าที่ติดอยู่กับชิ้นส่วนของเครื่องบินและที่ศพผู้เสียชีวิตไปตรวจสอบด้วยเครื่องมือ Gas Chromatograph พบสาร Research Department Explosive (RDX) เป็นส่วนใหญ่ และสารประ กอบประเภท Chlorates ด้วย โดยที่สาร RDX เป็นส่วนประกอบ สำคัญของดินระเบิดแบบ ซีโฟร์ (Composition-4) คณะพนักงานสอบของ สตช.ได้ข้อสรุปเบื้องต้น เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2544 ว่า การระเบิดขึ้นในบริเวณห้อง เก็บสินค้าส่วนด้านหน้าในสุด ค่อนไปทางซ้ายของลำตัวเครื่องบิน บริเวณใต้ ที่นั่งชั้นประหยัด (Y-Class) หมายเลข 32-36 ห่างจากที่นั่งชั้น ธุรกิจ (J-Class) ประมาณ 5-6 แถว http://www.eppo.go.th/admin/cab/cab-2545-01-22.html#16 Boeing 737-4D7 HS-TDC รายงานการปฏิบัติของคณะกรรมการสอบสวนกรณีอันเกี่ยวกับอุบัติเหตุ ของ อากาศยานในราชอาณาจักรกรณีเครื่องบินแบบ BOEING 737-400 เกิดเหตุเพลิงไหม้ คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงกลาโหมเสนอ รายงานการปฏิบัติของคณะกรรมการสอบสวนกรณีอันเกี่ยวกับ อุบัติเหตุของอากาศยาน ในราชอาณาจักร กรณีเครื่องบินแบบ BOEING 737-400 เกิดเหตุเพลิงไหม้ สรุปได้ ดังนี้ เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2544 เครื่องบินแบบ BOEING 737 - 400 เครื่องหมายสัญชาติและทะเบียน HS-TDC ของ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ได้เกิดเพลิงลุกไหม้เครื่องบินทั้งลำ ขณะจอดอยู่ที่บริเวณหลุมจอดที่ 62 ท่าอากาศยานกรุงเทพ ทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บ จำนวน 6 คน เสียชีวิต จำนวน 1 คน และเครื่องบินได้รับความเสียหาย ทั้งลำ เครื่องบินลำดังกล่าวซึ่งทำการบิน เส้นทางภายในประเทศและเส้นทางระหว่าง ประเทศในภูมิภาคเอเชีย โดย เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2544 ได้ทำการบินมาแล้วจำนวน 4 เที่ยวบิน คือ เส้นทางกรุงเทพฯ-ตรัง และ ตรัง-กรุงเทพฯ เส้นทาง กรุงเทพฯ-พิษณุโลก และ พิษณุโลก-กรุงเทพฯ ขณะที่เครื่องบินจอดบริเวณหลุมจอดที่ 62 อาคารผู้โดย สารภายในประเทศ ท่าอากาศยานกรุงเทพ เพื่อจะทำการบินในเที่ยวบินที่ 5 เส้นทาง กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ ในเวลา 15 นาฬิกา 15นาที โดยก่อนเกิดเหตุมีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานต่อเครื่องบิน จำนวน 5กลุ่ม ซึ่งเจ้าหน้าที่ ของบริษัท การบินไทยฯ ได้ทำการตรวจซ่อมเครื่องปรับอากาศของเครื่องบินลำนี้ เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2544 เวลา 11 นาฬิกา 25 นาที ที่ท่าอากาศยานกรุงเทพ ก่อนทำการบินไปท่าอากาศยานพิษณุโลก ต่อมาเวลาประมาณ 15 นาฬิกา 40นาที เครื่องบินลำดังกล่าวได้เกิดระเบิด และเกิดเพลิงลุกไหม้บริเวณกลางลำตัวเครื่องบินลุกลามไปส่วนต่างๆ ของเครื่องบินอย่างรวดเร็ว และอีก 18 นาทีต่อมา ถังเชื้อเพลิงที่ปีกขวาเกิดระเบิด จากเหตุการณ์นี้ทำให้เครื่องบินได้ รับความเสียหายทั้งลำ การปฏิบัติของหน่วยที่รับผิดชอบภายหลังเครื่องบินเกิดเหตุระเบิด 1. เจ้าหน้าที่กองพิสูจน์หลักฐาน กองสรรพาวุธ สถาบันนิติเวชวิทยา พนักงานสอบสวน กองบังคับการตำรวจ นครบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และแผนกทำลายวัตถุระเบิด กรมสรรพาวุธทหารอากาศ ได้นำเขม่าที่ติด อยู่กับชิ้นส่วนของเครื่องบินและที่ศพผู้เสียชีวิตไปตรวจ สอบด้วยเครื่องมือ Gas Chromatograph พบสาร Research Department Explosive (RDX) เป็นส่วนใหญ่ และสารประกอบประเภท Chlorates ด้วยโดย ที่สาร RDX เป็นส่วนประกอบสำคัญของ ดินระเบิดแบบซีโฟร์ (Composition-4) คณะพนักงานสอบสวนของ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้ข้อสรุปเบื้องต้นเมื่อ วันที่ 6มีนาคม 2544 ว่าการระเบิดเกิดขึ้นในบริเวณห้องเก็บ สินค้าส่วนด้านหน้าในสุด ค่อนไปทางซ้ายของลำตัวเครื่องบิน บริเวณใต้ที่นั่งชั้นประหยัด (Y-Class) หมายเลข 32-36 ห่างจากที่นั่งชั้นธุรกิจ (J-Class) ประมาณ 5-6 แถว 2. ในวันที่ 6 มีนาคม 2544 คณะกรรมการสอบสวนฯ ได้จัดให้มีการประชุมเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นครั้งนี้ ปรากฏ ว่าที่ประชุมยังไม่สามารถระบุได้ว่าเป็น การก่อวินาศกรรมหรืออุบัติเหตุ ดังนั้น ที่ประชุมจึงมีมติให้ คณะกรรม การสอบสวนฯ จะดำเนินการควบคู่ไปกับคณะกรรมการสอบสวนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และ อนุญาตให้ เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญจากประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้รับการแต่งตั้งเป็น Accredit Representative และ คณะที่ปรึกษา เข้าร่วมการสอบสวนกับคณะกรรมการสอบสวนฯ 3. ต่อมาคณะเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญของหน่วยงานสหรัฐฯ ได้แก่ National Transportation Safety Board(NTSB) เป็นหน่วยงานในการสอบสวนกรณียานพาหนะของสหรัฐอเมริกาประสบอุบัติเหตุ และ Federal Aviation Abminis tration (FAA) เป็นหน่วยงานที่ควบคุมเกี่ยวกับกฎระเบียบการบินของสหรัฐฯ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ด้านเทคนิคของ บริษัทโบอิ้ง Boeing ได้ขอเข้าร่วมการสอบสวนกับคณะกรรมการสอบสวนฯ ในฐานะประเทศผู้สร้างเครื่องบิน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งเป็น Accredit Representative และเป็นคณะที่ปรึกษา หลังจากผู้เชี่ยวชาญจากประเทศสหรัฐ อเมริกาได้ตรวจสอบซากเครื่องบินพบว่ามี การระเบิดของถังเชื้อเพลิงกลางลำตัวเครื่องบิน (Center Tank)โดย สาเหตุหลักที่นำไปสู่การระเบิดของถังเชื้อเพลิงฯ นั้น สันนิษฐานว่าอาจเกิดจากเหตุ 3 ประการ คือ 1) การวางระเบิดในห้องผู้โดยสาร (Cabin) เหนือบริเวณถังเชื้อเพลิงกลางลำตัวเครื่องบิน 2) จากระบบของเครื่องบิน บริเวณถังเชื้อเพลิงกลางลำตัวเครื่องบิน 3) จากเหตุอื่น ๆ ซึ่งยังไม่สามารถพบหลักฐานในขณะนี้ 4. จากการนำชิ้นส่วนตัวอย่างส่งไปวิเคราะห์ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ในเบื้องต้นไม่พบสาร RDX และต้องนำชิ้นส่วน ตัวอย่างอื่นๆของเครื่องบินไปทำการวิเคราะห์หาสารเคมีต่อไปซึ่งจะต้องใช้เวลาในการตรวจพิสูจน์อีกระยะหนึ่ง ในวันที่ 21 มิถุนายน 2544 NTSB ได้มีหนังสือแจ้งผลการดำเนินงานไปแล้ว โดยได้ถอดและแยกชิ้นส่วนต่าง ๆ ที่นำมาจากเครื่องบินเพื่อทำการตรวจสอบอย่างละเอียดในห้องปฏิบัติการ ซึ่งในขณะนี้ยังไม่พบต้นเหตุของการจุด ระเบิด ปั๊มเชื้อเพลิงและเครื่องวัดเชื้อเพลิงยังต้องทำการตรวจสอบต่อไปเนื่องจากพบว่ามีรอยขูดขีดและมีวัตถุแปลก ปลอมถูกกดเข้าไป ในขณะที่ FUEL GAGE CONNECTOR เกิดความเสียหาย ซึ่งอาจเนื่องมาจากไฟฟ้าลัดวงจร จึง ต้องทำการตรวจสอบ โดยใช้ SCANNING ELECTRON MICROSCOPE ขณะนี้ได้ทำการทดสอบปั๊มเชื้อเพลิงไป แล้วหนึ่งเรื่อง และกำลังวางแผนในการทดสอบอื่นๆต่อไป เพื่อหาความเป็นไปได้ของ การเกิดประกายไฟ ขณะที่ วัตถุแปลกปลอมถูกดูดเข้าไป และแหล่งของการจุดระเบิดที่เป็นไปได้ ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างการทำงานของมอเตอร์หรือ ลูกปืนปั๊มเชื้อเพลิงเป็นระยะ เวลานาน โดยไม่มีการระบายความร้อนจากเชื้อเพลิง ในวันที่ 6 สิงหาคม 2544 คณะเจ้าหน้าที่จาก NTSB และ BOEING จำนวน 5คน ได้เดินทางมายังประเทศไทย และ ได้บรรยายสรุปการปฏิบัติงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ณ ห้องประชุม ฝ่ายเสนาธิการทหารอากาศ โดยมี ประธานคณะ กรรมการสอบสวนกรณีอันเกี่ยวกับอุบัติเหตุของอากาศยานในราชอาณาจักร เป็นประธานฯ โดยสรุปได้ดังนี้ ที่เกี่ยว ข้องไปตรวจสอบเพิ่มเติมหลังจากที่บรรยายสรุป คณะเจ้าหน้าที่จาก NTSB และ BOEING ได้เดินทางไปโรงเก็บซาก ชิ้นส่วนเครื่องบิน เพื่อตรวจสอบและคัดเลือกชิ้นส่วนใหม่ที่เกี่ยวข้องในช่วงระหว่างวันที่ 6-10 สิงหาคม2544 ภายใต้ การดูแลของคณะกรรมการสอบสวนฯ ทั้งนี้ เพื่อนำไปตรวจสอบเพิ่มเติม ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา จากการตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ ซากเครื่องบิน ชิ้นส่วนต่าง ๆ ตลอดจนการส่งชิ้นส่วนไปตรวจสอบในห้อง ปฏิบัติการอย่างละเอียด ขณะนี้ยังไม่ทราบสาเหตุที่คาดว่าจะนำไปสู่การระเบิด แต่มีอุปกรณ์หลายอย่างอยู่ระหว่าง การตรวจสอบวิเคราะห์ เช่น เครื่องวัดปริมาณเชื้อเพลิงอาจมีการลัดวงจรเกิดขึ้นภายในเครื่องวัด สวิตซ์ไฟฟ้า (FLOAT SWITCH) ในถังเชื้อเพลิงด้านขวาเกิดการแตกร้าว ปั๊มเชื้อเพลิงที่ถังเชื้อเพลิงกลางพบมีสิ่งแปลกปลอม และรอยขีดข่วนเกิดขึ้นภายใน และถ่ายเทประจุไฟฟ้าสถิต (STATIC ELECTRICITY) ที่สาย BONDING ของชุด VENT VALVE ของถังเชื้อเพลิง เป็นต้น ในการดำเนินการขั้นต่อไปของคณะเจ้าหน้าที่จาก NTSB จะได้ทำการตรวจ สอบวิเคราะห์ต่าง ๆ ที่มีสิ่งผิดปกติดังกล่าวข้างต้น และนำชิ้นส่วนใหม่ ในวันที่ 2 ตุลาคม 2544 The National Transportation Safety Board (NTSB) ได้แจ้งให้ทราบว่า 1. จากการพบร่องรอย (Marks) ที่บริเวณ Pump Inlets NTSB ร่วมกับ Federal Aviation Administration (FAA) และบริษัท Boeing ได้จัดเตรียมแผนการตรวจสอบการทำงานของ Pump ดังกล่าว ซึ่งห้องทดลองได้ ถูกสร้างขึ้นโดย บริษัท Boeing 2. ชิ้นส่วนต่าง ๆ ได้แก่ Wiring, Fuel Vent Valves, Fuel Quantity Probes และ Fuel Filter ได้ถูกจัดส่งไปยังห้อง ทดลองต่าง ๆ เพื่อทำการตรวจสอบ ในวันที่ 4 ตุลาคม 2544 NTSB ได้แจ้งให้ทราบว่า มีความจำเป็นต้องรื้อ Wing Tank Fuel Pumps ทั้งสอง เพื่อตรวจสอบ ซึ่งจะให้ Pumps ทั้งสองดังกล่าว ไม่สามารถนำกลับมาใช้งาน ได้อีก คณะกรรมการสอบสวนฯ จึงได้แจ้งให้ NTSB ทราบ เพื่อดำเนินการต่อไป ในวันที่ 4 มกราคม 2545 NTSB ได้ส่งรายงานการตรวจสอบรูบริเวณผนังด้านข้างของเครื่องบินว่า ลักษณะรอยแตก และการเสียรูปของรูดังกล่าว เกิดจากการโดนวัตถุทะลุพื้นผิวจากภายนอกเข้าไปยังภายใน จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ไว้ในชั้นหนึ่งก่อน และหากมีข้อมูลเพิ่มเติมจักได้รายงานให้ทราบต่อไป http://www.thaicabincrew.com/forums/viewtopic.php?f=6&t=40347
ไผท ภูธา
.....
MaysaHaway Home's albums
ใครสั่งฆ่า? ... วางระเบิดเครื่องบินทักษิณ 3 มีนาคม 2544
ใครสั่งฆ่า? ... วางระเบิดเครื่องบินทักษิณ 3 มีนาคม 2544 โพสต์13 ก.ย. 2553, 09:58โดยชาวดิน ออนเน็ต วันที่ 3 มีนาคม 2544 หลายคนยังจำกันได้ในสมัย "พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร" เป็นนายกรัฐมนตรี ในครั้งนั้นเป็นข่าว ครึกโครมไปทั่วประเทศและทั่วโลกเมื่อ เครื่องบินของสายการบินไทย ที่จอด เทียบท่าอยู่สนามบินดอนเมือง เพื่อรอรับผู้โดยสารบินไปยังจังหวัดเชียงใหม่ โดยหนึ่งในผู้โดยสาร ในเที่ยวบินดังกล่าว ก็มีผู้นำของประเทศ "พ.ต. ต.ทักษิณ" ก่อนที่ผู้โดยสาร ขึ้นเครื่องไม่กี่นาที เครื่องบินลำดังกล่าวเกิดระเบิดขึ้น กลางสนามบินดอนเมือง สร้างความแตกตื่นให้กับผู้คน จำนวนมาก โชคดีของผู้โดยสารที่ยังไม่มีใครขึ้นบนเครื่องบิน จึงไม่มีใครสังเวยชีวิตในครั้งนั้น แต่ก็เป็นที่กังขาของหลายฝ่ายว่าระเบิดเครื่องบินไทยครั้งนั้นเกิดจากเหตุอะไรกันแน่ ลอบวางระเบิดนายกฯ..? วินาศกรรม..? ความประมาท..? อุบัติเหตุ..? จนวันนี้คำถามเหล่านี้ก็ยังไม่ได้รับความชัดเจน 24 ชั่วโมงของทักษิณ : บทที่ 1 เสียงโทรศัพท์ยามรุ่งอรุณ (ตอนที่1) นี่ไม่ใช่ครั้งแรกที่ ทักษิณเอาชีวิตรอดมาได้ ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 5 มีนาคม2544 เมื่อเขาได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพียง 25 วัน เขาก็ได้รับรู้รสชาติของการถูกลอบสังหารในวันนั้น เครื่องบินโบอิ้ง 747 ลำหนึ่งของการบินไทยซึ่งบรรทุกผู้โดยสารจำนวน 129 คน เดินทางจากกรุงเทพฯ ไป ยังจังหวัดเชียงใหม่ผู้โดยสารบนเครื่องซึ่งรวมทั้งทักษิณที่เพิ่งได้รับ ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีพร้อมด้วย ลูกชายรวมทั้งข้าราชการจำนวน 20 คนเตรียมพร้อมขึ้นเครื่องวินาทีที่เครื่องบินเตรียมทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้า นั้นที่นั่งชั้นหนึ่งหมายเลข 11A ที่เขาได้จองไว้เกิดระเบิดขึ้นกะทันหัน ผู้โดยสารที่อยู่บริเวณรอบๆที่นั่งนั้น ได้รับบาดเจ็บจำนวนมากแต่ที่โชคดีก็คือ ที่นั่งนี้ไม่มีใครนั่งอยู่ในตอนนั้น ทักษิณผู้ซึ่งตรงต่อเวลามาโดย ตลอดตัดสินใจที่จะรอลูกชายซึ่งก็คือ นายพาน ทองแท้ ที่มาถึงช้า วันนั้นลูกชายก็ไม่ทราบสาเหตุ ว่า ทำไมถึงมาช้า 25 นาที แต่ในที่สุดก็ได้ช่วยชีวิตพ่อของตนไว้ได้ ดาวโหลดไฟล์ข้อมูลการระเบิด http://www.karoon-saingam.net/violence_thaksin.pdf โบอิ้ง 737-400 เวอร์ชั่น 1 (734) 9 ลำ ที่นั่ง ชั้นธุรกิจ จัดแบบ 2-2 จำนวน 12 ที่ นั่ง , ชั้นประหยัด จัดแบบ 3-3 จำนวน 137 ที่นั่ง รวมทั้งหมดจำนวน 149 ที่นั่ง เจ้าหน้าที่กองพิสูจน์หลักฐาน กองสรรพาวุธ สถาบันนิติเวชวิทยา พนักงานสอบสวนกองบังคับ การตำรวจนครบาล 2 สำนักงาน ตำรวจแห่งชาติ(สตช.) และแผนกทำลายวัตถุระเบิด กรมสรรพาวุธ ทหารอากาศได้นำเขม่าที่ติดอยู่กับชิ้นส่วนของเครื่องบินและที่ศพผู้เสียชีวิตไปตรวจสอบด้วยเครื่องมือ Gas Chromatograph พบสาร Research Department Explosive (RDX) เป็นส่วนใหญ่ และสารประ กอบประเภท Chlorates ด้วย โดยที่สาร RDX เป็นส่วนประกอบ สำคัญของดินระเบิดแบบ ซีโฟร์ (Composition-4) คณะพนักงานสอบของ สตช.ได้ข้อสรุปเบื้องต้น เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2544 ว่า การระเบิดขึ้นในบริเวณห้อง เก็บสินค้าส่วนด้านหน้าในสุด ค่อนไปทางซ้ายของลำตัวเครื่องบิน บริเวณใต้ ที่นั่งชั้นประหยัด (Y-Class) หมายเลข 32-36 ห่างจากที่นั่งชั้น ธุรกิจ (J-Class) ประมาณ 5-6 แถว http://www.eppo.go.th/admin/cab/cab-2545-01-22.html#16 Boeing 737-4D7 HS-TDC รายงานการปฏิบัติของคณะกรรมการสอบสวนกรณีอันเกี่ยวกับอุบัติเหตุ ของ อากาศยานในราชอาณาจักรกรณีเครื่องบินแบบ BOEING 737-400 เกิดเหตุเพลิงไหม้ คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงกลาโหมเสนอ รายงานการปฏิบัติของคณะกรรมการสอบสวนกรณีอันเกี่ยวกับ อุบัติเหตุของอากาศยาน ในราชอาณาจักร กรณีเครื่องบินแบบ BOEING 737-400 เกิดเหตุเพลิงไหม้ สรุปได้ ดังนี้ เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2544 เครื่องบินแบบ BOEING 737 - 400 เครื่องหมายสัญชาติและทะเบียน HS-TDC ของ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ได้เกิดเพลิงลุกไหม้เครื่องบินทั้งลำ ขณะจอดอยู่ที่บริเวณหลุมจอดที่ 62 ท่าอากาศยานกรุงเทพ ทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บ จำนวน 6 คน เสียชีวิต จำนวน 1 คน และเครื่องบินได้รับความเสียหาย ทั้งลำ เครื่องบินลำดังกล่าวซึ่งทำการบิน เส้นทางภายในประเทศและเส้นทางระหว่าง ประเทศในภูมิภาคเอเชีย โดย เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2544 ได้ทำการบินมาแล้วจำนวน 4 เที่ยวบิน คือ เส้นทางกรุงเทพฯ-ตรัง และ ตรัง-กรุงเทพฯ เส้นทาง กรุงเทพฯ-พิษณุโลก และ พิษณุโลก-กรุงเทพฯ ขณะที่เครื่องบินจอดบริเวณหลุมจอดที่ 62 อาคารผู้โดย สารภายในประเทศ ท่าอากาศยานกรุงเทพ เพื่อจะทำการบินในเที่ยวบินที่ 5 เส้นทาง กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ ในเวลา 15 นาฬิกา 15นาที โดยก่อนเกิดเหตุมีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานต่อเครื่องบิน จำนวน 5กลุ่ม ซึ่งเจ้าหน้าที่ ของบริษัท การบินไทยฯ ได้ทำการตรวจซ่อมเครื่องปรับอากาศของเครื่องบินลำนี้ เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2544 เวลา 11 นาฬิกา 25 นาที ที่ท่าอากาศยานกรุงเทพ ก่อนทำการบินไปท่าอากาศยานพิษณุโลก ต่อมาเวลาประมาณ 15 นาฬิกา 40นาที เครื่องบินลำดังกล่าวได้เกิดระเบิด และเกิดเพลิงลุกไหม้บริเวณกลางลำตัวเครื่องบินลุกลามไปส่วนต่างๆ ของเครื่องบินอย่างรวดเร็ว และอีก 18 นาทีต่อมา ถังเชื้อเพลิงที่ปีกขวาเกิดระเบิด จากเหตุการณ์นี้ทำให้เครื่องบินได้ รับความเสียหายทั้งลำ การปฏิบัติของหน่วยที่รับผิดชอบภายหลังเครื่องบินเกิดเหตุระเบิด 1. เจ้าหน้าที่กองพิสูจน์หลักฐาน กองสรรพาวุธ สถาบันนิติเวชวิทยา พนักงานสอบสวน กองบังคับการตำรวจ นครบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และแผนกทำลายวัตถุระเบิด กรมสรรพาวุธทหารอากาศ ได้นำเขม่าที่ติด อยู่กับชิ้นส่วนของเครื่องบินและที่ศพผู้เสียชีวิตไปตรวจ สอบด้วยเครื่องมือ Gas Chromatograph พบสาร Research Department Explosive (RDX) เป็นส่วนใหญ่ และสารประกอบประเภท Chlorates ด้วยโดย ที่สาร RDX เป็นส่วนประกอบสำคัญของ ดินระเบิดแบบซีโฟร์ (Composition-4) คณะพนักงานสอบสวนของ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้ข้อสรุปเบื้องต้นเมื่อ วันที่ 6มีนาคม 2544 ว่าการระเบิดเกิดขึ้นในบริเวณห้องเก็บ สินค้าส่วนด้านหน้าในสุด ค่อนไปทางซ้ายของลำตัวเครื่องบิน บริเวณใต้ที่นั่งชั้นประหยัด (Y-Class) หมายเลข 32-36 ห่างจากที่นั่งชั้นธุรกิจ (J-Class) ประมาณ 5-6 แถว 2. ในวันที่ 6 มีนาคม 2544 คณะกรรมการสอบสวนฯ ได้จัดให้มีการประชุมเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นครั้งนี้ ปรากฏ ว่าที่ประชุมยังไม่สามารถระบุได้ว่าเป็น การก่อวินาศกรรมหรืออุบัติเหตุ ดังนั้น ที่ประชุมจึงมีมติให้ คณะกรรม การสอบสวนฯ จะดำเนินการควบคู่ไปกับคณะกรรมการสอบสวนของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และ อนุญาตให้ เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญจากประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้รับการแต่งตั้งเป็น Accredit Representative และ คณะที่ปรึกษา เข้าร่วมการสอบสวนกับคณะกรรมการสอบสวนฯ 3. ต่อมาคณะเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญของหน่วยงานสหรัฐฯ ได้แก่ National Transportation Safety Board(NTSB) เป็นหน่วยงานในการสอบสวนกรณียานพาหนะของสหรัฐอเมริกาประสบอุบัติเหตุ และ Federal Aviation Abminis tration (FAA) เป็นหน่วยงานที่ควบคุมเกี่ยวกับกฎระเบียบการบินของสหรัฐฯ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ด้านเทคนิคของ บริษัทโบอิ้ง Boeing ได้ขอเข้าร่วมการสอบสวนกับคณะกรรมการสอบสวนฯ ในฐานะประเทศผู้สร้างเครื่องบิน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งเป็น Accredit Representative และเป็นคณะที่ปรึกษา หลังจากผู้เชี่ยวชาญจากประเทศสหรัฐ อเมริกาได้ตรวจสอบซากเครื่องบินพบว่ามี การระเบิดของถังเชื้อเพลิงกลางลำตัวเครื่องบิน (Center Tank)โดย สาเหตุหลักที่นำไปสู่การระเบิดของถังเชื้อเพลิงฯ นั้น สันนิษฐานว่าอาจเกิดจากเหตุ 3 ประการ คือ 1) การวางระเบิดในห้องผู้โดยสาร (Cabin) เหนือบริเวณถังเชื้อเพลิงกลางลำตัวเครื่องบิน 2) จากระบบของเครื่องบิน บริเวณถังเชื้อเพลิงกลางลำตัวเครื่องบิน 3) จากเหตุอื่น ๆ ซึ่งยังไม่สามารถพบหลักฐานในขณะนี้ 4. จากการนำชิ้นส่วนตัวอย่างส่งไปวิเคราะห์ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ในเบื้องต้นไม่พบสาร RDX และต้องนำชิ้นส่วน ตัวอย่างอื่นๆของเครื่องบินไปทำการวิเคราะห์หาสารเคมีต่อไปซึ่งจะต้องใช้เวลาในการตรวจพิสูจน์อีกระยะหนึ่ง ในวันที่ 21 มิถุนายน 2544 NTSB ได้มีหนังสือแจ้งผลการดำเนินงานไปแล้ว โดยได้ถอดและแยกชิ้นส่วนต่าง ๆ ที่นำมาจากเครื่องบินเพื่อทำการตรวจสอบอย่างละเอียดในห้องปฏิบัติการ ซึ่งในขณะนี้ยังไม่พบต้นเหตุของการจุด ระเบิด ปั๊มเชื้อเพลิงและเครื่องวัดเชื้อเพลิงยังต้องทำการตรวจสอบต่อไปเนื่องจากพบว่ามีรอยขูดขีดและมีวัตถุแปลก ปลอมถูกกดเข้าไป ในขณะที่ FUEL GAGE CONNECTOR เกิดความเสียหาย ซึ่งอาจเนื่องมาจากไฟฟ้าลัดวงจร จึง ต้องทำการตรวจสอบ โดยใช้ SCANNING ELECTRON MICROSCOPE ขณะนี้ได้ทำการทดสอบปั๊มเชื้อเพลิงไป แล้วหนึ่งเรื่อง และกำลังวางแผนในการทดสอบอื่นๆต่อไป เพื่อหาความเป็นไปได้ของ การเกิดประกายไฟ ขณะที่ วัตถุแปลกปลอมถูกดูดเข้าไป และแหล่งของการจุดระเบิดที่เป็นไปได้ ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างการทำงานของมอเตอร์หรือ ลูกปืนปั๊มเชื้อเพลิงเป็นระยะ เวลานาน โดยไม่มีการระบายความร้อนจากเชื้อเพลิง ในวันที่ 6 สิงหาคม 2544 คณะเจ้าหน้าที่จาก NTSB และ BOEING จำนวน 5คน ได้เดินทางมายังประเทศไทย และ ได้บรรยายสรุปการปฏิบัติงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ณ ห้องประชุม ฝ่ายเสนาธิการทหารอากาศ โดยมี ประธานคณะ กรรมการสอบสวนกรณีอันเกี่ยวกับอุบัติเหตุของอากาศยานในราชอาณาจักร เป็นประธานฯ โดยสรุปได้ดังนี้ ที่เกี่ยว ข้องไปตรวจสอบเพิ่มเติมหลังจากที่บรรยายสรุป คณะเจ้าหน้าที่จาก NTSB และ BOEING ได้เดินทางไปโรงเก็บซาก ชิ้นส่วนเครื่องบิน เพื่อตรวจสอบและคัดเลือกชิ้นส่วนใหม่ที่เกี่ยวข้องในช่วงระหว่างวันที่ 6-10 สิงหาคม2544 ภายใต้ การดูแลของคณะกรรมการสอบสวนฯ ทั้งนี้ เพื่อนำไปตรวจสอบเพิ่มเติม ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา จากการตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ ซากเครื่องบิน ชิ้นส่วนต่าง ๆ ตลอดจนการส่งชิ้นส่วนไปตรวจสอบในห้อง ปฏิบัติการอย่างละเอียด ขณะนี้ยังไม่ทราบสาเหตุที่คาดว่าจะนำไปสู่การระเบิด แต่มีอุปกรณ์หลายอย่างอยู่ระหว่าง การตรวจสอบวิเคราะห์ เช่น เครื่องวัดปริมาณเชื้อเพลิงอาจมีการลัดวงจรเกิดขึ้นภายในเครื่องวัด สวิตซ์ไฟฟ้า (FLOAT SWITCH) ในถังเชื้อเพลิงด้านขวาเกิดการแตกร้าว ปั๊มเชื้อเพลิงที่ถังเชื้อเพลิงกลางพบมีสิ่งแปลกปลอม และรอยขีดข่วนเกิดขึ้นภายใน และถ่ายเทประจุไฟฟ้าสถิต (STATIC ELECTRICITY) ที่สาย BONDING ของชุด VENT VALVE ของถังเชื้อเพลิง เป็นต้น ในการดำเนินการขั้นต่อไปของคณะเจ้าหน้าที่จาก NTSB จะได้ทำการตรวจ สอบวิเคราะห์ต่าง ๆ ที่มีสิ่งผิดปกติดังกล่าวข้างต้น และนำชิ้นส่วนใหม่ ในวันที่ 2 ตุลาคม 2544 The National Transportation Safety Board (NTSB) ได้แจ้งให้ทราบว่า 1. จากการพบร่องรอย (Marks) ที่บริเวณ Pump Inlets NTSB ร่วมกับ Federal Aviation Administration (FAA) และบริษัท Boeing ได้จัดเตรียมแผนการตรวจสอบการทำงานของ Pump ดังกล่าว ซึ่งห้องทดลองได้ ถูกสร้างขึ้นโดย บริษัท Boeing 2. ชิ้นส่วนต่าง ๆ ได้แก่ Wiring, Fuel Vent Valves, Fuel Quantity Probes และ Fuel Filter ได้ถูกจัดส่งไปยังห้อง ทดลองต่าง ๆ เพื่อทำการตรวจสอบ ในวันที่ 4 ตุลาคม 2544 NTSB ได้แจ้งให้ทราบว่า มีความจำเป็นต้องรื้อ Wing Tank Fuel Pumps ทั้งสอง เพื่อตรวจสอบ ซึ่งจะให้ Pumps ทั้งสองดังกล่าว ไม่สามารถนำกลับมาใช้งาน ได้อีก คณะกรรมการสอบสวนฯ จึงได้แจ้งให้ NTSB ทราบ เพื่อดำเนินการต่อไป ในวันที่ 4 มกราคม 2545 NTSB ได้ส่งรายงานการตรวจสอบรูบริเวณผนังด้านข้างของเครื่องบินว่า ลักษณะรอยแตก และการเสียรูปของรูดังกล่าว เกิดจากการโดนวัตถุทะลุพื้นผิวจากภายนอกเข้าไปยังภายใน จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ไว้ในชั้นหนึ่งก่อน และหากมีข้อมูลเพิ่มเติมจักได้รายงานให้ทราบต่อไป http://www.thaicabincrew.com/forums/viewtopic.php?f=6&t=40347