วันพฤหัสบดี, ตุลาคม 29, 2563

วิศวะ จุฬาฯ ออกแถลงการณ์แสดงความเสียใจกับสิ่งที่รุ่นพี่ตัวเองได้โยนบกจิตร ภูมิศักดิ์ เมื่อ 67 ปีก่อนในวันนี้วันคล้ายวันที่จิตรถูกโยนบก + “จิตร ภูมิศักดิ์” ชีวิต และ ผลงาน

“จิตร ภูมิศักดิ์” ชีวิต และ ผลงาน

Nov 29, 2019

THE BACKGROUND - ความเป็นมา-

วันนี้เราขอนำเสนอทุกท่านไปรู้จักกับ หนึ่งนักคิดนักเขียน ปัญญาชนคนสำคัญของไทย ที่หลายคนกล่าวอย่างแยบคายว่า เขาผู้มีอายุอยู่ในช่วงกึ่งพุทธกาลนี้เป็นผู้ที่มาก่อนกาล เป็นบุคคลที่หลายคนกล่าวว่าเกิดสองครั้ง ซึ่งแนวคิดและผลงานของเขาได้สั่นสะเทือนต่อวงวิชาการไทย ผู้ที่ครั้งหนึ่งเหล่านักศึกษาปัญญาชนนั้นได้แรงบัลดาลใจจากแนวคิดและงานเขียนของเขา และแม้ในปัจจุบันชื่อของเขายังคงไม่ลบไปจากความทรงจำของผู้ที่สนใจในตัวเขา และภาพจำของเขานั้นก็สุดแล้วแต่ว่า คุณอยากจดจำเขาในฐานะอะไร เขาผู้นั้นมีนามว่า “จิตร ภูมิศักดิ์” รายละเอียดจะเป็นอย่างไร ติดตามรับฟังได้เลยครับ
--------------------------------------------
**ข้อมูลอ้างอิง**
-หนังสือที่เกี่ยวกับ จิตร ภูมิศักดิ์-

เรย์โนลดส์, เคร็ก เจ. ความคิดแหวกแนวของไทย: จิตรภูมิศักดิ์ และโฉมหน้าของศักดินาไทยในปัจจุบัน. แปลโดย อัญชลี สุสายัณห์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการคำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2561.

วิลลา วิลัยทอง. “ทัณฑะกาล” ของจิตร ภูมิศักดิ์และผู้ต้องขังการเมือง. กรุงเทพฯ: มติชน, 2556.

สุชีลา ตันชัยนันท์, บรรณาธิการ. จิตร ภูมิศักดิ์ และวิวาทะเรื่องเพศภาวะในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: พี เพรส, 2558.

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ, บรรณาธิการ. จิตร ภูมิศักดิ์: ความทรงจำและคนรุ่นใหม่. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารำลึก, 2557.

“โฉมหน้าศักดินาไทยในสายตาของจิตร ภูมิศักดิ์” ธรรมเกียรติ กันอริ ใน วารสารสังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 9 กันยายน 2517.

หนังสือ กรณีโยนบก 23 ตุลาฯ จิตร ภูมิศักดิ์.

“๕ พฤษภาคม ๒๕๐๙ จิตร ภูมิศักดิ์ จบชีวิตอย่างไร้ค่าที่สกลนคร ก่อนกำเนิดอีกครั้งหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาฯ” ศิลปวัฒนธรรม ฉบับพฤษภาคม 2547 ผู้เขียน ธนาพล อิ๋วสกุล และคณะ

เขาตายที่ชายป่า ความคิดแหวกแนวของ จิตร ภูมิศักดิ์ 8 Oct 2018 - นิธิ นิธิวีรกุล เว็ปไซต์เข้าถึงได้ที่ -
https://waymagazine.org/chit-phumisak...

“จากเพลงเพื่อชีวิตถึงเพลงปฏิวัติ” โดย เกษียร เตชะพีระ มติชนสุดสัปดาห์, ๒๓: ๑๑๘๑ (๔-๑๐ เมษายน ๒๕๔๖), ๗๕ 

บทความ “๗๒ ปี จิตร ภูมิศักดิ์ กับตำนานแห่งนครวัด” ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “คือ…คนดลใจ” อนุสารอสท. ฉบับกันยายน ๒๕๔๕ โดย ธีรภาพ โลหิตกุล 

สุภัตรา ภูมิประภาส, บันทึก 72 ปี ทองใบ ทองเปาด์ (กรุงเทพฯ: สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน, 2541) 

ทองใบ ทองเปาด์, คอมมิวนิสต์ลาดยาว (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง, 2534) 

คุกลาดยาว. ผู้เรียบเรียง ศรัญญู และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ จากเว็ปไซต์ สถาบันพระปกเกล้า เข้าถึงได้ที่ - http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title...

คลาสสิกไทย สไตล์ "จิตร ภูมิศักดิ์" (จบ) : พลังเพลงสร้างจาก "คุกลาดยาว" เว็ปไซต์เข้าถึงได้ที่ - https://mgronline.com/entertainment/d...

ก่อนจะถึงมทบ.11: ประวัติศาสตร์ย่นย่อว่าด้วยคุกพิเศษในไทย เว็ปไซต์เข้าถึงได้ที่ - https://ilaw.or.th/node/3939