@siraasook
·15h
เป็นภาพที่ชอบที่สุดและแชร์ทุกปี น้อยแต่มาก #6ตุลา
·Oct 5
1.ภายหลังจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เกิดความตื่นตัวทางการเมืองในสังคมไทยอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในหมู่นักศึกษาประชาชน มีการจัดกิจกรรมทางการเมืองเพื่อต่อต้านความไม่เป็นธรรมในสังคมอันเนื่องมาจากอำนาจรัฐที่ไม่เป็นธรรมหลายประการ
2.ความดุเดือดของการปะทะทางความคิดด้านการเมืองในสังคมไทยสั่งสมมายาวนานตลอด กระทั่งชนวนเหตุมาจุดขึ้นอีกจากการเดินทางกลับประเทศไทยของจอมพลถนอม กิตติขจร ที่สร้างความไม่พอใจให้กับนักศึกษาประชาชน
3. 27 มิถุนายน พระกิตติวุฑโฒภิกขุ ให้สัมภาษณ์ลงหนังสือพิมพ์จัตุรัสว่า “การฆ่าคนเพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ถือเป็นบุญกุศลเหมือนฆ่าปลาแกงใส่บาตรพระ”
4. 6 สิงหาคมคณะรัฐมนตรีรัฐบาล ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช ประชุมนัดพิเศษพิจารณาคำขอของจอมพลถนอม กิตติขจร ที่จะเดินทางเข้าประเทศ ความเห็นแตกเป็นสองฝ่ายทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย
5. 5 กันยายน ศนท. (ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย) พร้อมกลุ่มแนวร่วมอีก 67 กลุ่ม ประชุมที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ออกแถลงการณ์ร่วมจะต่อต้านคัดค้านการกลับมาของจอมพลถนอมจนถึงที่สุด
6. 19 กันยายน จอมพลถนอม กิตติขจร (สามเณร) เดินทางกลับประเทศไทย เสร็จพิธีอุปสมบถที่วัดบวรฯ พระถนอมได้รับฉายา “สุกิตติขจโรภิกขุ” ศนท. เคลื่อนไหวและรอดูท่าที ฝั่งตรงข้ามอย่างสถานีวิทยุยานเกราะโจมตี ศนท. และเรียกร้องรัฐบาลว่าให้ “ฆ่าปชช. สัก 30,000 คน เพื่อคนจำนวน 43 ล้านคน”
20 กันยายน พระกิตติวุฑโฒ กล่าวว่านักศึกษาที่ขับไล่พระมีแต่คอมมิวนิสต์เท่านั้น ส่วนสถานีวิทยุยานเกราะ และหนังสือพิมพ์ดาวสยาม โจมตีศนท. ไม่ให้ปชช. ออกไปร่วมชุมนุมกับ ศนท.
21 กันยายน ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี ประกาศลาออกกลางสภาฯ เพราะไม่สามารถเสนอกฎหมายเนรเทศคนสัญชาติไทยได้ ซึ่งขัดรัฐธรรมนูญ มาตรา 47 เริ่มมีการปิดป้ายประท้วงพระถนอม สถานีวิทยุยานเกราะออกประกาศให้ตำรวจจับกุมนักศึกษาที่ปิดป้ายประกาศ
24 กันยายน กองกำลังหนึ่งบุกทำลายป้ายปิดประกาศขับไล่พระถนอมที่ธรรมศาสตร์ ชายฉกรรจ์กลุ่มหนึ่งทำร้ายนิสิตจุฬาฯ ที่ติดป้ายประกาศไล่พระถนอมบริเวณหน้าหอพักนิสิต ราว 8.00 น. ตำรวจได้รับแจ้งว่าพบศพ 2 พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดนครปฐมคือนายวิชัย เกษศรีพงษา และนายชุมพร ทุมไมย
ถูกรัดคอเสียชีวิตแล้วนำมาแขวนไว้ที่ “ประตูแดง” ทั้งสองถูกทำร้ายขณะปิดป้ายประกาศไล่พระถนอม
29 กันยายน ศนท. และกลุ่มต่าง ๆ ชุมนุมอย่างสงบที่สนามหลวง เรียกร้องรัฐบาลให้ขับพระถนอมเดินทางออกนอกประเทศและเร่งดำเนินการจับกุมฆาตกรสังหารพนักงานการไฟฟ้า ขณะที่กลุ่มกระทิงแดงและลูกเสือชาวบ้านจำนวนหนึ่งเข้าอารักขาพระถนอมที่วัดบวรฯ
30 กันยายน สมศักดิ์ ขวัญมงคล หัวหน้ากลุ่มกระทิงแดง ประกาศจะพิทักษ์วัดบวรฯ มิใช่อารักขาพระถนอม และเรียกร้องศนท. ชุมนุมในสนามหลวงหรือในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อย่าเดินขบวนเป็นอันขาด ส่วนสุธรรม แสงประทุม เลขาธิการ ศนท. ประกาศจะทำทุกอย่างเพื่อต่อต้านเผด็จการ
และที่กลุ่มกระทิงแดงออกมาต่อต้านศนท. นั้นถือได้ว่าเป็นเครื่องมือรับใช้และปกป้องเผด็จการ
1 ตุลาคม ญาติวีรชน 14 ตุลาฯ อดอาหารประท้วงที่หน้าทำเนียบรัฐบาล เรียกร้องให้รัฐบาลดำเนินการขับพระถนอมออกจากประเทศ ขณะที่มีการชุมนุมของนักศึกษา-ประชาชน ที่สนามหลวงในเวลาสั้น ๆ
2 ตุลาคม สุธรรม แสงประทุม และตัวแทนกลุ่มต่าง ๆ เข้าพบนายกรัฐมนตรี ขอความชัดเจนในการขับพระถนอมออกนอกประเทศ แต่ไม่ได้รับคำตอบแน่ชัด จึงเรียกร้องให้นักศึกษาประชาชนออกมาชุมนุมในวันที่ 4 ตุลาคม
สมาชิกกลุ่มนวพลทั่วประเทศเดินทางเข้ามาที่วัดพระแก้ว ร่วมกันปฏิญาณตนต่อหน้าพระแก้วมรกตว่าจะปกป้องชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ แล้วไปชุมนุมกันที่บริเวณสนามไชย
4 ตุลาคม ชุมนุมนาฏศิลป์และการละครแสดงละครที่ลานโพธิ์ ภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นละครสะท้อนเหตุการณ์สังหารพนักงานการไฟฟ้า ผู้แสดงคือ อภินันท์ บัวหภักดี นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ ปี 2 และวิโรจน์ ตั้งวาณิชย์ นึกศึกษาคณะศิลปศาสตร์ ปี 4
ช่วงบ่ายได้มีการชุมนุมขับไล่พระถนอมที่สนามหลวง ก่อนย้ายมาชุมนุมในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในช่วงหัวค่ำ ราว 21.00 น. ดร.ป๋วย อึ๊งภาภรณ์ ออกแถลงการณ์ประกาศสั่งปิดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สุธรรม แสงประทุม กล่าวถึงเหตุการณ์วันนั้นว่า ผู้ชุมนุมย้ายเข้าไปอย่างสงบ ไม่ได้ตั้งกองกำลังตอบโต้หรือรุกรานใคร เพียงมีอาสาสมัครกลุ่มเล็ก ๆ เพื่อรักษาความปลอดภัยแก่ผู้ชุมุนมที่เป็นนักศึกษาประชาชน “...เน้นการป้องกันอันตรายที่เกิดขึ้น ไม่มีปืนผาหน้าไม้ที่จะสู้รบกับใครเลย
จะมีก็คงปืนพกไม่กี่กระบอกที่นักศึกษาบางคนมีติดตัวไว้ และได้รับอนุญาตอย่างถูกต้องตามกฎหมาย”
·15h
เป็นภาพที่ชอบที่สุดและแชร์ทุกปี น้อยแต่มาก #6ตุลา
เหตุการณ์ 6 ตุลา ก็เช่นเดียวกับเหตุการณ์ปี 53 คือคนสั่งฆ่ายังลอยนวล
— เพนกวิน - Parit Chiwarak (@paritchi) October 6, 2020
44 ปี #6ตุลา มีคนตาย ไม่มีคนรับผิด
— Sunai (@sunaibkk) October 6, 2020
เหตุการณ์สังหารหมู่ที่ธรรมศาสตร์ยังเอาผิดใครไม่ได้ การใช้ความรุนแรงโดยรัฐต่อผู้เรียกร้องประชาธิปไตยถูกผลิตซ้ำต่อมาจนถึงปัจจุบัน ข้อหาหนักแผ่นดินในตอนนั้นคือข้อหาชังชาติในตอนนี้ pic.twitter.com/RZqeGFmCzC
@notforgetNEW1.ภายหลังจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เกิดความตื่นตัวทางการเมืองในสังคมไทยอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในหมู่นักศึกษาประชาชน มีการจัดกิจกรรมทางการเมืองเพื่อต่อต้านความไม่เป็นธรรมในสังคมอันเนื่องมาจากอำนาจรัฐที่ไม่เป็นธรรมหลายประการ
— 💯 Not Forget 💬 (@notforgetNEW) October 5, 2020
·Oct 5
1.ภายหลังจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เกิดความตื่นตัวทางการเมืองในสังคมไทยอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในหมู่นักศึกษาประชาชน มีการจัดกิจกรรมทางการเมืองเพื่อต่อต้านความไม่เป็นธรรมในสังคมอันเนื่องมาจากอำนาจรัฐที่ไม่เป็นธรรมหลายประการ
2.ความดุเดือดของการปะทะทางความคิดด้านการเมืองในสังคมไทยสั่งสมมายาวนานตลอด กระทั่งชนวนเหตุมาจุดขึ้นอีกจากการเดินทางกลับประเทศไทยของจอมพลถนอม กิตติขจร ที่สร้างความไม่พอใจให้กับนักศึกษาประชาชน
3. 27 มิถุนายน พระกิตติวุฑโฒภิกขุ ให้สัมภาษณ์ลงหนังสือพิมพ์จัตุรัสว่า “การฆ่าคนเพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ถือเป็นบุญกุศลเหมือนฆ่าปลาแกงใส่บาตรพระ”
4. 6 สิงหาคมคณะรัฐมนตรีรัฐบาล ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช ประชุมนัดพิเศษพิจารณาคำขอของจอมพลถนอม กิตติขจร ที่จะเดินทางเข้าประเทศ ความเห็นแตกเป็นสองฝ่ายทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย
5. 5 กันยายน ศนท. (ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย) พร้อมกลุ่มแนวร่วมอีก 67 กลุ่ม ประชุมที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ออกแถลงการณ์ร่วมจะต่อต้านคัดค้านการกลับมาของจอมพลถนอมจนถึงที่สุด
6. 19 กันยายน จอมพลถนอม กิตติขจร (สามเณร) เดินทางกลับประเทศไทย เสร็จพิธีอุปสมบถที่วัดบวรฯ พระถนอมได้รับฉายา “สุกิตติขจโรภิกขุ” ศนท. เคลื่อนไหวและรอดูท่าที ฝั่งตรงข้ามอย่างสถานีวิทยุยานเกราะโจมตี ศนท. และเรียกร้องรัฐบาลว่าให้ “ฆ่าปชช. สัก 30,000 คน เพื่อคนจำนวน 43 ล้านคน”
20 กันยายน พระกิตติวุฑโฒ กล่าวว่านักศึกษาที่ขับไล่พระมีแต่คอมมิวนิสต์เท่านั้น ส่วนสถานีวิทยุยานเกราะ และหนังสือพิมพ์ดาวสยาม โจมตีศนท. ไม่ให้ปชช. ออกไปร่วมชุมนุมกับ ศนท.
21 กันยายน ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี ประกาศลาออกกลางสภาฯ เพราะไม่สามารถเสนอกฎหมายเนรเทศคนสัญชาติไทยได้ ซึ่งขัดรัฐธรรมนูญ มาตรา 47 เริ่มมีการปิดป้ายประท้วงพระถนอม สถานีวิทยุยานเกราะออกประกาศให้ตำรวจจับกุมนักศึกษาที่ปิดป้ายประกาศ
24 กันยายน กองกำลังหนึ่งบุกทำลายป้ายปิดประกาศขับไล่พระถนอมที่ธรรมศาสตร์ ชายฉกรรจ์กลุ่มหนึ่งทำร้ายนิสิตจุฬาฯ ที่ติดป้ายประกาศไล่พระถนอมบริเวณหน้าหอพักนิสิต ราว 8.00 น. ตำรวจได้รับแจ้งว่าพบศพ 2 พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดนครปฐมคือนายวิชัย เกษศรีพงษา และนายชุมพร ทุมไมย
ถูกรัดคอเสียชีวิตแล้วนำมาแขวนไว้ที่ “ประตูแดง” ทั้งสองถูกทำร้ายขณะปิดป้ายประกาศไล่พระถนอม
29 กันยายน ศนท. และกลุ่มต่าง ๆ ชุมนุมอย่างสงบที่สนามหลวง เรียกร้องรัฐบาลให้ขับพระถนอมเดินทางออกนอกประเทศและเร่งดำเนินการจับกุมฆาตกรสังหารพนักงานการไฟฟ้า ขณะที่กลุ่มกระทิงแดงและลูกเสือชาวบ้านจำนวนหนึ่งเข้าอารักขาพระถนอมที่วัดบวรฯ
30 กันยายน สมศักดิ์ ขวัญมงคล หัวหน้ากลุ่มกระทิงแดง ประกาศจะพิทักษ์วัดบวรฯ มิใช่อารักขาพระถนอม และเรียกร้องศนท. ชุมนุมในสนามหลวงหรือในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อย่าเดินขบวนเป็นอันขาด ส่วนสุธรรม แสงประทุม เลขาธิการ ศนท. ประกาศจะทำทุกอย่างเพื่อต่อต้านเผด็จการ
และที่กลุ่มกระทิงแดงออกมาต่อต้านศนท. นั้นถือได้ว่าเป็นเครื่องมือรับใช้และปกป้องเผด็จการ
1 ตุลาคม ญาติวีรชน 14 ตุลาฯ อดอาหารประท้วงที่หน้าทำเนียบรัฐบาล เรียกร้องให้รัฐบาลดำเนินการขับพระถนอมออกจากประเทศ ขณะที่มีการชุมนุมของนักศึกษา-ประชาชน ที่สนามหลวงในเวลาสั้น ๆ
2 ตุลาคม สุธรรม แสงประทุม และตัวแทนกลุ่มต่าง ๆ เข้าพบนายกรัฐมนตรี ขอความชัดเจนในการขับพระถนอมออกนอกประเทศ แต่ไม่ได้รับคำตอบแน่ชัด จึงเรียกร้องให้นักศึกษาประชาชนออกมาชุมนุมในวันที่ 4 ตุลาคม
สมาชิกกลุ่มนวพลทั่วประเทศเดินทางเข้ามาที่วัดพระแก้ว ร่วมกันปฏิญาณตนต่อหน้าพระแก้วมรกตว่าจะปกป้องชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ แล้วไปชุมนุมกันที่บริเวณสนามไชย
4 ตุลาคม ชุมนุมนาฏศิลป์และการละครแสดงละครที่ลานโพธิ์ ภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นละครสะท้อนเหตุการณ์สังหารพนักงานการไฟฟ้า ผู้แสดงคือ อภินันท์ บัวหภักดี นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ ปี 2 และวิโรจน์ ตั้งวาณิชย์ นึกศึกษาคณะศิลปศาสตร์ ปี 4
ช่วงบ่ายได้มีการชุมนุมขับไล่พระถนอมที่สนามหลวง ก่อนย้ายมาชุมนุมในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในช่วงหัวค่ำ ราว 21.00 น. ดร.ป๋วย อึ๊งภาภรณ์ ออกแถลงการณ์ประกาศสั่งปิดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สุธรรม แสงประทุม กล่าวถึงเหตุการณ์วันนั้นว่า ผู้ชุมนุมย้ายเข้าไปอย่างสงบ ไม่ได้ตั้งกองกำลังตอบโต้หรือรุกรานใคร เพียงมีอาสาสมัครกลุ่มเล็ก ๆ เพื่อรักษาความปลอดภัยแก่ผู้ชุมุนมที่เป็นนักศึกษาประชาชน “...เน้นการป้องกันอันตรายที่เกิดขึ้น ไม่มีปืนผาหน้าไม้ที่จะสู้รบกับใครเลย
จะมีก็คงปืนพกไม่กี่กระบอกที่นักศึกษาบางคนมีติดตัวไว้ และได้รับอนุญาตอย่างถูกต้องตามกฎหมาย”