การช่วยผลักดันประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยทำได้หลายทาง
ทางหนึ่งคือการที่เราต้องเผชิญหน้ากับปัญหาที่มาจากมาตรา 112
หลายปีที่ผ่านมา ดิชั้นได้ทำทุกอย่างเพื่อที่จะสร้างความตื่นตัวเกี่ยวกับปัญหาจากมาตรา
112 จนตัวเองก็โดนไปด้วย เริ่มตั้งแต่ทำโครงการฝ่ามืออากงเมื่อปี
2011 (11 ปีที่แล้ว) ไปจนถึงการเขียนบทความ จัดการสัมมนา
การทำวิจัยเรื่องนี้ และอื่นๆ อีกมาก
รวมไปถึงการเปิดตลาดหลวงเพื่อใช้เป็นพื้นที่พูดคุยเรื่องเจ้า
มาวันนี้ ดิชั้นอยากทำงาน advocacy
จากต่างประเทศบ้าง เลยจัดทำแคมเปญ 112WATCH เพื่อขอความร่วมมือจากนานาประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ
ในการสร้างบทสนทนาแบบใหม่เกี่ยวกับมาตรา 112
แรงกดดันจากต่างชาติแม้จะมีผลไม่มากเท่าแรงกดดันภายในประเทศ
แต่มันต้องทำไปพร้อมๆ กับแรงกดดันภายใน นอกเหนือไปจากงานวิชาการ
ดิชั้นได้ทุ่มให้กับแคมเปญนี้
ใครสนใจอยากเข้ามามีส่วนร่วม
ลองไปชมเว็ปไซต์กันดูค่ะ มีภาคภาษาไทยด้วย ขอบคุณมากค่ะ
I want to play a part in democratising
Thailand. And one way in so doing is to confront the issue of Article 112.
In the past years, I have done all I could
to raise awareness on the troubles with Article 112 to the point that I have
become a victim myself. For example, I launched a fearlessness campaign in 2011
to free Akong, charged with lese-majeste. I have also written articles and
organised conferences related to the 112 issues. Recently, I set up Royalist
Marketplace to promote free discussion on the monarchy.
Today, I want to do something different. I
have begun this personal project "112WATCH" as a vehicle for international
advocacy in trying to find a new narrative on Article 112. I do hope that this
effort will add up international pressure against the Thai regime to reconsider
the use of lese-majeste law.
Please visit my webpage. #112WATCH #lesemajestelaw #Article112
https://112watch.org/?fbclid=IwAR1PR0vF_p9Y8tAGaacWSZ5tIQYXX_twZvwL-DUZ2dK_8zYQVuq7Zl3JohA