คุณยิ่งปิดบัง เรายิ่งขุดคุ้ย
— Mindpat.T (@TMindpat) October 6, 2020
คุณยิ่งปิดกั้น เรายิ่งตีแผ่
คุณยิ่งทำให้เราลืม เราจะยิ่งผลิตซ้ำความจริงเพื่อให้สังคมได้จดจำ https://t.co/0UmUlOZlF9
“เหตุการณ์วันนึงที่มันเกิดขึ้น มันไม่ได้มาจากแค่คืนนั้นคืนเดียว มันไม่ได้มาเพราะเหตุการณ์แขวนคอจากการแสดงละคนเท่านั้น หรือเหตุการณ์ที่ช่างไฟฟ้าโดนแขวนคอ มันมีท่ามาที่ไปก่อนหน้านั้นเยอะมาก ไม่ว่าจะเป็นเผด็จการทหาร การควบคุมสื่อ การยึดวิทยุ และก็โหมข่าวที่ไม่เป็นข้อเท็จจริง” pic.twitter.com/9aSL8eXCUJ
— The MATTER (@thematterco) October 6, 2020
เห็นแต่ตำรวจเอาตีนเหยียบหน้าศพนักศึกษา pic.twitter.com/w072hCQdKi
— Mutiny (@VR11THEONE) October 7, 2020
5h ·ชาญวิทย์ เกษตรศิริ กล่าวในงานรำลึก #6ตุลา ว่าการสังหารหมู่ครั้งนั้นถือเป็นการรัฐประหารครั้งหนึ่ง โดยการรำลึกถึงเหตุการณ์ครั้งนั้นก็เป็นส่วนหนึ่งของการทำให้คนในปัจจุบันได้มีความทรงจำของอดีตติดตัวไว้เพื่อเดินทางไปสู่อนาคตhttps://t.co/EQivgZ0boC
— prachatai (@prachatai) October 7, 2020
แนะนำฟังการบรรยาย
ประจักษ์ ก้องกีรติ
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นักวิชาการ ศึกษาสงครามเย็น ความรุนแรงางการเมือง มาบรรยาย
ในนิทรรศการแขวน
เนื่องในโอกาส 44 ปี 6 ตุลาคม 2519
https://www.facebook.com/October6MuseumProject/videos/677290143200048
Live : 17.30 น. นำชมนิทรรศการโดย อ.ประจักษ์ ก้องกีรติ นักวิชาการรัฐศาสตร์ “เดือนตุลา” เจ้าของหนังสือ “และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ”
นักวิชาการในสายธารการเปลี่ยนแปลงเพื่อประชาธิปไตย
นิทรรศการฯ จัดแสดงถึงวันที่ 11 ตุลาคม 2563 ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เข้าชมฟรี
#6ตุลา #44ปี6ตุลา #โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์6ตุลา