กระทรวงดิจิทัล บล็อคข่าวพนมเปญโพสต์ “กัมพูชาได้รับคำขอให้ส่งตัวคนไทย 3 ราย ฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ”
Fri, 2016-10-28 16:28
ที่มา ประชาไท
28 ต.ค. 2559 เวลา 16.00 น. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตหลายรายในไทย ได้แก่ TOT, 3BB, True และ AIS ปิดกั้นการเข้าถึงหน้าเว็บข่าวเรื่อง Cambodia mulls Thai junta’s request for three extraditions ของเว็บไซต์พนมเปญโพสต์( www.phnompenhpost.com) ซึ่งระบุว่าเว็บไซต์นี้มีเนื้อหาและข้อมูลที่ไม่เหมาะสม ถูกระงับโดยกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
สำหรับรายงานข่าวดังกล่าวระบุถึง การเปิดเผยของกระทรวงต่างประเทศกัมพูชาว่า ได้รับคำขอจากทางการไทยให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดนข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 3 ราย ทั้งนี้ในรายงานข่าวดังกล่าว ได้สัมภาษณ์ ซก สัมอึน ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายโดยเขาระบุว่า สัญญาส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนนั้นมีส่วนสำคัญอยู่ที่ฐานความผิดในการส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนจะต้องเป็นข้อหาที่มีอยู่ในกฎหมายทั้ง 2 ประเทศ และข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพไม่ใช่ข้อหาที่อยู่ภายใต้ประมวลกฎหมายอาญาของกัมพูชา
เรื่องที่เกี่ยวข้อง:
กัมพูชาได้รับคำขอให้ส่งตัวคนไทย 3 ราย ฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
.....
กัมพูชาได้รับคำขอให้ส่งตัวคนไทย 3 ราย ฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา รมว.ยุติธรรม
Thu, 2016-10-27 17:06
ประชาไท
โฆษก ก.ต่างประเทศกัมพูชาเผยได้รับคำขอจากทางการไทยให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดนข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 3 ราย ด้านนักกฎหมายกัมพูชาระบุว่าอาจเป็นไปได้ยากเพราะกฎหมายกัมพูชาไม่มีฐานความผิดนี้ ขณะที่บางกอกโพสต์ระบุ รมว.ยุติธรรม เปิดเผยว่ามีการส่งคำร้องไปยัง 7 ประเทศทั่วโลก ให้ส่งตัวคนไทย 19 ราย ในข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
พนมเปญโพสต์รายงานวันนี้ (27 ต.ค.) ว่า กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชา เปิดเผยว่าเจ้าหน้าที่กัมพูชาอยู่ระหว่างดำเนินการ หลังรัฐบาลทหารไทยร้องขอให้มีการส่งผู้ร้ายข้ามแดน ซึ่งเป็นพลเมืองไทย 3 ราย ในข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
ทั้งนี้จำนวนผู้ร้ายข้ามแดนที่ทางการไทยขอให้ส่งตัวมีทั้งสิ้น 19 ราย โดยส่งคำร้องไปยัง 7 ประเทศ เพื่อให้ส่งผู้ต้องสงสัยที่ถูกกล่าวหาว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพในช่วงการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ด้านโฆษกกระทรวงการต่างประเทศกัมพูชา ชุม สุนทรี กล่าวเมื่อวานนี้ (26 ต.ค.) ว่าได้รับคำร้องขอให้ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน ซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติไทย 3 ราย ในข้อหา "หมิ่นพระมหากษัตริย์ไทย"
"ขณะนี้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจอยู่ระหว่างดำเนินการตามคำร้องขอ แต่ยังไม่ใช่เวลาที่จะให้รายละเอียด" สุนทรีกล่าว โดยไม่ยอมให้ข้อมูลใดๆ เกี่ยวกับบุคคลที่ถูกกล่าวหาทั้งสามราย
เมื่อผู้สื่อข่าวถามว่ากัมพูชาจะอำนวยให้มีการส่งผู้ร้ายข้ามแดนหรือไม่ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศกัมพูชาปฏิบัติที่จะให้คำตอบที่ชัดเจน แต่ให้สัมภาษณ์เน้นในประเด็นเรื่องสนธิสัญญาส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนที่ไทยและกัมพูชาลงนามในปี 2544
"ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญาส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน และเจ้าหน้าที่กัมพูชากำลังพิจารณาคำร้องขอ"
อย่างไรก็ตาม ซก สัมอึน ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายให้สัมภาษณ์พนมเปญโพสต์ว่า สัญญาส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนนั้นมีส่วนสำคัญอยู่ที่ฐานความผิดในการส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนจะต้องเป็นข้อหาที่มีอยู่ในกฎหมายทั้ง 2 ประเทศ และข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพไม่ใช่ข้อหาที่อยู่ภายใต้ประมวลกฎหมายอาญาของกัมพูชา
"ข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ไม่ใช่อาชญากรรมในกัมพูชา" เขากล่าว
ในขณะที่เขากล่าวว่าเขาไม่มีความเชี่ยวชาญเรื่องสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนดังกล่าว สัมอึน ให้ข้อมูลด้วยว่าคำร้องขอให้ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนจะต้องยึดประมวลกฎหมายอาญาของกัมพูชาด้วย "เราไม่สามารถส่งตัวผู้ถูกกล่าวหาข้ามแดนได้ หากทั้ง 2 ประเทศไม่ได้เห็นตรงกันว่าสิ่งนี้เป็นอาชญากรรม"
พนมเปญโพสต์ยังอ้างรายงานของบางกอกโพสต์ที่ว่าทางการไทยได้ส่งคำร้องขอส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนต่อผู้ถูกกล่าวหาว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ โดยในจำนวน 7 ประเทศที่มีการส่งคำร้อง มีรายชื่อประเทศที่เปิดเผยในบางกอกโพสต์ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น และนิวซีแลนด์
โดย พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรมกล่าวว่า เขาได้รับ "การตอบสนองที่เป็นบวก" จากนักการทูตที่เขาติดต่อ แต่พวกเขายังคงประสบปัญหาในข้อกฎหมายระหว่างประเทศ
Cambodia mulls Thai junta’s request for three extraditions
Thu, 27 October 2016
Erin Handley
Source: Phnompenh Post
Cambodian authorities are “processing” a request from Thailand’s military government to extradite three Thai citizens for the crime of insulting the monarchy, the Ministry of Foreign Affairs said yesterday.
A number of extradition requests – 19 in total – have been made to seven countries for suspects of the widely condemned lese majeste laws in the wake of the late King Bhumibol Adulyadej’s death.
Foreign Ministry spokesman Chum Sounry yesterday confirmed the government had received a request to extradite three Thai nationals who had fled into Cambodia “for insulting the Thai monarchy”.
“Now the competent authorities are processing this request, so it is not the right time to issue detailed information,” Sounry said, remaining tight-lipped on the details of the alleged offences of the three people.
When asked if Cambodia would facilitate the extradition, Sounry declined to give a definitive answer but highlighted the extradition treaty signed by Thailand and Cambodia in 2001. “The two countries have an extradition treaty, and the Cambodian authorities are considering the request,” he said.
However, the treaty outlines that an extraditable offence is one that carries a jail term under the laws of both countries. Insulting a king is not a criminal offence under Cambodia’s Penal Code, legal expert Sok Sam Oeun confirmed.
“Insulting the king, it’s not a crime in Cambodia,” he said.
While he said he was not familiar with the treaty, Sam Oeun added the extradition requirement was also enshrined in Cambodia’s Criminal Procedure Code. “We can’t extradite any accused unless both sides have an act saying it is a crime, according to the Criminal Code,” he said.
“If it is not a crime in Cambodia, we cannot send those people [to Thailand].”
Diplomatic missions in Cambodia and Thailand could not be reached for comment late yesterday, but the Bangkok Post reported Thailand had also requested cooperation in extraditing lese majeste suspects from the United States, France, Australia, Japan and New Zealand.
According to the Bangkok Post, Thai Justice Minister Paiboon Koomchaya said he had received a “positive response” from the ambassadors he had approached, but they still “had a problem regarding international law”.
Insulting or defaming the monarchy can include comments made on social media about the royal family – such as a baffling case of a man making a “sarcastic” comment about the late king’s dog – and can carry a 15-year prison sentence.
Academics and observers internationally have condemned the laws, which are often used by the military junta to bolster its legitimacy.
ประชาไท
โฆษก ก.ต่างประเทศกัมพูชาเผยได้รับคำขอจากทางการไทยให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดนข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 3 ราย ด้านนักกฎหมายกัมพูชาระบุว่าอาจเป็นไปได้ยากเพราะกฎหมายกัมพูชาไม่มีฐานความผิดนี้ ขณะที่บางกอกโพสต์ระบุ รมว.ยุติธรรม เปิดเผยว่ามีการส่งคำร้องไปยัง 7 ประเทศทั่วโลก ให้ส่งตัวคนไทย 19 ราย ในข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
พนมเปญโพสต์รายงานวันนี้ (27 ต.ค.) ว่า กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชา เปิดเผยว่าเจ้าหน้าที่กัมพูชาอยู่ระหว่างดำเนินการ หลังรัฐบาลทหารไทยร้องขอให้มีการส่งผู้ร้ายข้ามแดน ซึ่งเป็นพลเมืองไทย 3 ราย ในข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
ทั้งนี้จำนวนผู้ร้ายข้ามแดนที่ทางการไทยขอให้ส่งตัวมีทั้งสิ้น 19 ราย โดยส่งคำร้องไปยัง 7 ประเทศ เพื่อให้ส่งผู้ต้องสงสัยที่ถูกกล่าวหาว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพในช่วงการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ด้านโฆษกกระทรวงการต่างประเทศกัมพูชา ชุม สุนทรี กล่าวเมื่อวานนี้ (26 ต.ค.) ว่าได้รับคำร้องขอให้ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน ซึ่งเป็นบุคคลสัญชาติไทย 3 ราย ในข้อหา "หมิ่นพระมหากษัตริย์ไทย"
"ขณะนี้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจอยู่ระหว่างดำเนินการตามคำร้องขอ แต่ยังไม่ใช่เวลาที่จะให้รายละเอียด" สุนทรีกล่าว โดยไม่ยอมให้ข้อมูลใดๆ เกี่ยวกับบุคคลที่ถูกกล่าวหาทั้งสามราย
เมื่อผู้สื่อข่าวถามว่ากัมพูชาจะอำนวยให้มีการส่งผู้ร้ายข้ามแดนหรือไม่ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศกัมพูชาปฏิบัติที่จะให้คำตอบที่ชัดเจน แต่ให้สัมภาษณ์เน้นในประเด็นเรื่องสนธิสัญญาส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนที่ไทยและกัมพูชาลงนามในปี 2544
"ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญาส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน และเจ้าหน้าที่กัมพูชากำลังพิจารณาคำร้องขอ"
อย่างไรก็ตาม ซก สัมอึน ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายให้สัมภาษณ์พนมเปญโพสต์ว่า สัญญาส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนนั้นมีส่วนสำคัญอยู่ที่ฐานความผิดในการส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนจะต้องเป็นข้อหาที่มีอยู่ในกฎหมายทั้ง 2 ประเทศ และข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพไม่ใช่ข้อหาที่อยู่ภายใต้ประมวลกฎหมายอาญาของกัมพูชา
"ข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ไม่ใช่อาชญากรรมในกัมพูชา" เขากล่าว
ในขณะที่เขากล่าวว่าเขาไม่มีความเชี่ยวชาญเรื่องสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนดังกล่าว สัมอึน ให้ข้อมูลด้วยว่าคำร้องขอให้ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนจะต้องยึดประมวลกฎหมายอาญาของกัมพูชาด้วย "เราไม่สามารถส่งตัวผู้ถูกกล่าวหาข้ามแดนได้ หากทั้ง 2 ประเทศไม่ได้เห็นตรงกันว่าสิ่งนี้เป็นอาชญากรรม"
พนมเปญโพสต์ยังอ้างรายงานของบางกอกโพสต์ที่ว่าทางการไทยได้ส่งคำร้องขอส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดนต่อผู้ถูกกล่าวหาว่าหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ โดยในจำนวน 7 ประเทศที่มีการส่งคำร้อง มีรายชื่อประเทศที่เปิดเผยในบางกอกโพสต์ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น และนิวซีแลนด์
โดย พล.อ.ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรมกล่าวว่า เขาได้รับ "การตอบสนองที่เป็นบวก" จากนักการทูตที่เขาติดต่อ แต่พวกเขายังคงประสบปัญหาในข้อกฎหมายระหว่างประเทศ
ooo
Cambodia mulls Thai junta’s request for three extraditions
Thu, 27 October 2016
Erin Handley
Source: Phnompenh Post
Cambodian authorities are “processing” a request from Thailand’s military government to extradite three Thai citizens for the crime of insulting the monarchy, the Ministry of Foreign Affairs said yesterday.
A number of extradition requests – 19 in total – have been made to seven countries for suspects of the widely condemned lese majeste laws in the wake of the late King Bhumibol Adulyadej’s death.
Foreign Ministry spokesman Chum Sounry yesterday confirmed the government had received a request to extradite three Thai nationals who had fled into Cambodia “for insulting the Thai monarchy”.
“Now the competent authorities are processing this request, so it is not the right time to issue detailed information,” Sounry said, remaining tight-lipped on the details of the alleged offences of the three people.
When asked if Cambodia would facilitate the extradition, Sounry declined to give a definitive answer but highlighted the extradition treaty signed by Thailand and Cambodia in 2001. “The two countries have an extradition treaty, and the Cambodian authorities are considering the request,” he said.
However, the treaty outlines that an extraditable offence is one that carries a jail term under the laws of both countries. Insulting a king is not a criminal offence under Cambodia’s Penal Code, legal expert Sok Sam Oeun confirmed.
“Insulting the king, it’s not a crime in Cambodia,” he said.
While he said he was not familiar with the treaty, Sam Oeun added the extradition requirement was also enshrined in Cambodia’s Criminal Procedure Code. “We can’t extradite any accused unless both sides have an act saying it is a crime, according to the Criminal Code,” he said.
“If it is not a crime in Cambodia, we cannot send those people [to Thailand].”
Diplomatic missions in Cambodia and Thailand could not be reached for comment late yesterday, but the Bangkok Post reported Thailand had also requested cooperation in extraditing lese majeste suspects from the United States, France, Australia, Japan and New Zealand.
According to the Bangkok Post, Thai Justice Minister Paiboon Koomchaya said he had received a “positive response” from the ambassadors he had approached, but they still “had a problem regarding international law”.
Insulting or defaming the monarchy can include comments made on social media about the royal family – such as a baffling case of a man making a “sarcastic” comment about the late king’s dog – and can carry a 15-year prison sentence.
Academics and observers internationally have condemned the laws, which are often used by the military junta to bolster its legitimacy.