วันอาทิตย์, พฤศจิกายน 02, 2557

คลิป เสวนาชวนอ่าน Withdrawal Symptoms: Social and Cultural Aspects of The October 6 Coup หรือบ้านเมืองของเราลงแดง: แง่มุมทางสังคมและวัฒนธรรมของรัฐประหาร 6 ตุลาคม เขียนโดยเบเนดิก แอนเดอร์สัน (Benedict Anderson)


ไม่อ่านก็ฟังได้ อ่านด้วยยิ่งฟังดี ฉบับเต็ม https://www.youtube.com/watch?v=t_D09RD1ZkM&list=PLTg78zFFSI7WmbRMFrBeMD_uG4kv0FKOx&index=1

ไม่อ่านก็ฟังได้ อ่านด้วยยิ่งฟังดี สุรชาติ บำรุงสุข https://www.youtube.com/watch?v=i6mblB-kVk0&list=PLTg78zFFSI7WmbRMFrBeMD_uG4kv0FKOx&index=2

ไม่อ่านก็ฟังได้ อ่านด้วยยิ่งฟังดี กนกรัตน์ เลิศชุสกุล https://www.youtube.com/watch?v=iRASBpHWyoQ&list=PLTg78zFFSI7WmbRMFrBeMD_uG4kv0FKOx&index=3

ไม่อ่านก็ฟังได้ อ่านด้วยยิ่งฟังดี เวียงรัฐ เนติโพธิ์ https://www.youtube.com/watch?v=6VJ-TvO1m9Y&index=4&list=PLTg78zFFSI7WmbRMFrBeMD_uG4kv0FKOx

Published on Oct 31, 2014
เสวนาชวนอ่าน Withdrawal Symptoms: Social and Cultural Aspects of The October 6 Coup หรือบ้านเมืองของเราลงแดง: แง่มุมทางสังคมและวัฒนธรรมของรัฐประหาร 6 ตุลาคม เขียนโดยเบเนดิก แอนเดอร์สัน (Benedict Anderson)

ณ สโมสรนิสิตรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 8 ต.ค. 2557
...


บ้านเมืองของเราลงแดง : แง่มุมทางสังคมและวัฒนธรรมของรัฐประหาร 6 ตุลาคม (จำนวน 40 หน้า ปีที่พิมพ์ : 2541)

เบเนดิก แอนเดอร์สัน
เกษียร เตชะพีระ , ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ , ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

แต่งโดย เบเนดิก แอนเดอร์สัน
แปลโดย เกษียร เตชะพีระ
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

"คราทีนั้นฝูงสัตว์ทั้งหลาย
จะเกิดความอันตรายเป็นแม่นมั่น
ด้วยพระมหากระษัตรมิได้ทรงทศพิตราชธรรม์
จึงเกิดเข็ญเป็นมหัศจรรย์สิบหกประการ
คือเดือนดาวดินฟ้าจะอาเพด
อุบัติเหตุเกิดทั่วทุกทีศาน
มหาเมฆจะลุกเป็นเพลิงกาล"

--------------------------------------------------------------------------------

* แปลจาก “Withdrawal Symptoms: Social and Cultural Aspects of the October 6 Coup,” Bulletin of Concerned Asian Scholars, 9:3 (July – September 1977), 13 – 30

Ben Anderson หรืออาจารย์เบ็น เคยบรรยายภูมิหลังตัวเองว่าเป็นคน “หลากเนรเทศหลายใจภักดิ์” กล่าวคือ “เกิดเมืองจีน โตในสามประเทศ (จีน ,อเมริกา ,อังกฤษ) พูดสำเนียงอังกฤษพ้นสมัย ถือหนังสือเดินทางไอริช อาศัยอยู่ในอเมริกา และอุทิศตัวให้กับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” อาจารย์รักเมืองไทยเหมือนบ้านแห่งที่สองรองจากอินโดนีเซีย อาจารย์ได้ติดตามศึกษาการเมืองและประวัติศาสตร์กลุ่มประเทศภูมิภาคนี้มานานร่วมสี่ทศวรรษ และติดตามศึกษาสยามอย่างเข้มข้นจริงจังนับแต่หลังเหตุการณ์มหาปิติ 14 ตุลาคม 2516 เป็นต้นมาจนมีลูกศิษย์ลูกหาเกลื่อนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเมืองไทย

โดยการงานอาชีพอาจารย์เป็นศาสตราจารย์ด้านรัฐศาสตร์และเอเชียศึกษา ณ มหาวิทยาลัยคอร์แนลล์ ผลงานที่เด่น ๆ ของอาจารย์ก็เช่น Java in a Time of Revolution (2515) ,Imagined Communities: Reflections on the Origion and Spread of Nationalism(2526) , Language and Power: Exploring Political Cultures in Indonesia(2533) , และล่าสุด The Spectre of Comparisons (2541)

อาจารย์บอกว่าความหวังยิ่งใหญ่ของอาจารย์ในปัจจุบันคือได้กลับเข้าอินโดนีเซียในจังหวะรัฐบาลซูฮาร์โตซึ่งสั่งห้ามอาจารย์เข้าประเทศมากว่ายี่สิบปีถึงกาลล่มสลาย แล้วเลยไปร่วมฉลองการประกาศเอกราชที่ติมอร์ตะวันออก

อ่านเอกสารฉบับเต็ม ( Microsoft Word ) จำนวน 40หน้า


ที่มา http://www.2519.net/autopage/show_page.php?t=10&s_id=15&d_id=8